Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ ทุมมานนท์-
dc.contributor.authorเจษฎา ใหม่ตาจักร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2010-06-16T03:36:19Z-
dc.date.available2010-06-16T03:36:19Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741760256-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12897-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างองค์ประกอบของกำไร ได้แก่ กระแสเงินสด รายการคงค้างทั้งหมด รายการคงคลังที่ไม่ขึ้นกับดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร และรายการคงค้างที่ขึ้นกับดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร รวมถึงสินทรัพย์ดำเนินงานสุทธิ กับกำไรในอนาคต กลุ่มตัวอย่างคือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2545-2547 จำนวน 205 บริษัท จาก 22 หมวดใน 6 กลุ่มอุตสาหกรรม ข้อมูลทุติยภูมิที่ใช้ศึกษารวบรวมได้จากฐานข้อมูลทางการเงิน ในห้องปฏิบัติการทางการเงิน และใช้การวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ณ ระดับนัยสำคัญเท่ากับ 0.05 ผลการเปรียบเทียบความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์หลังปรับเป็นรูปมาตรฐาน จากการวิเคราะห์ความถดถอย ได้ข้อสรุปว่า กำไรสุทธิและกระแสเงินสดมีความสัมพันธ์กับกำไรในอนาคต อยู่ในระดับดีในทิศทางเดียวกัน รองลงมาคือ รายการคงค้างทั้งหมด รายการคงค้างที่ขึ้นกับดุลยพินิจของฝ่ายบริการ และสุดท้ายคือ รายการคงค้างที่ไม่ขึ้นกับดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร สำหรับสินทรัพย์ดำเนินงานสุทธิ ผลการทดสอบความถดถอยพบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับกำไรในอนาคตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeTo study the relation of earnings components, including cash flows, total accruals, non discretionary accruals and discretionary accruals, and net operating assets to future earnings. The sample consists of 205 Thai listed companies of 22 sectors included in 6 industry groups in 2002-2004. The secondary data used in this study were collected from financial database available at financial laboratory, using multiple regression analysis at a significance level of 0.05. The results of the aforementioned relations using standardized coefficients from regression analysis concluded that earnings and cash flows were positively related to future earnings, followed by total acruals, discretionary accruals and non discretionary accruals, respectively. For net operating assets, the regression result shows no significance associated with future earnings.en
dc.format.extent930421 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกำไรen
dc.subjectงบกระแสเงินสดen
dc.subjectบริษัทมหาชนen
dc.titleการเปรียบเทียบองค์ประกอบของกำไรและสินทรัพย์ดำเนินงานสุทธิกับกำไรในอนาคต ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen
dc.title.alternativeA comparison of earnings components and net operating assets with future earnings of listed companies in the Stock Exchange of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบัญชีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVorasak.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chessadar_ma.pdf908.61 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.