Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorเพลินพร วนิชยางกูรานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-06-16T03:45:20Z-
dc.date.available2010-06-16T03:45:20Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741743807-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12899-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractวิเคราะห์รูปแบบโครงสร้างกองกำลังขนส่งรถยนต์ โดยรถบรรทุกในประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งทำการวิเคราะห์ทรัพยากรและต้นทุนที่ใช้ในโครงสร้างกองกำลังขนส่ง การศึกษาครั้งนี้ได้เปรียบเทียบแต่ละรูปแบบโครงสร้างกองกำลังขนส่ง โดยจำแนกโครงสร้างเป็น 3 รูปแบบคือ การจัดจ้างหัวลาก หางลากและพนักงานขับรถจากภายนอก การจัดจ้างหัวลากและพนักงานขับรถจากภายนอก และการลงทุนหัวลาก หางบรรทุกและจ้างพนักงานขับรถเอง ผลการศึกษาต้นทุนโครงสร้างกองกำลังขนส่งพบว่า การจัดจ้างหัวลากพร้อมหางบรรทุกและพนักงานขับรถเอง สร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้มากที่สุด โดยมีต้นทุนในการดำเนินการต่ำสุด รองลงมาคือการจัดจ้างหัวลากและพนักงานขับรถภายนอก และการลงทุนหัวลาก หางบรรทุกและจ้างพนักงานขับรถเอง ตามลำดับ การจัดจ้างภายนอกส่งผลให้ต้นทุนคงที่ของโครงสร้างกองกำลังขนส่งลดลง และต้นทุนผันแปรเพิ่มขั้นทำให้ต้นทุนที่ต่ำกว่า 15% ของต้นทุนรวม ซึ่งทำให้ต้นทุนรวมจากการจัดจ้างภายนอกสะท้อนปริมาณการทำงานในแต่ละช่วงเวลา ได้ดีกว่าต้นทุนรวมจากการลงทุนเองทั้งหมด อย่างไรก็ตามถ้าปริมาณงานเพิ่มขึ้นการจัดจ้างภายนอก อาจส่งผลให้ต้นทุนรวมสูงเกินกว่าการลงทุนเอง จากผลการศึกษาสามารถสรุปแนวทางแก้ไข ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการขนส่งรถยนต์ได้ 2 แนวทางคือ แนวทางแรกเป็นการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารจัดการพนักงานขับรถประจำให้ทำงานเพิ่มขึ้น ซึ่งจะช่วยลดอัตราการสำรองพนักงานลง และกำหนดความรับผิดชอบรถเทรลเล่อร์ให้พนักงานขับรถ เพื่อรักษาสมรรถภาพทรัพย์สินให้ใช้ได้นานขึ้น และแนวทางที่สองเป็นการเลือกรูปแบบโครงสร้างกองกำลังขนส่ง ที่เหมาะสมกับปริมาณและองค์กรen
dc.description.abstractalternativeTo analyze the structures of vehicle transportation fleet to improve effectiveness and efficiency with the application of the resource and cost analysis. This thesis compares three types of fleet structures: outsourcing trucks, trailers and drivers, outsourcing trucks and drivers, and investing own rucks, trailers and employees. The analysis of the fleet costs indicates that the outsourcing trucks, trailers, and drivers is the most effective and efficiency structure by the least cost model, followed by the outsourcing trucks and drivers and the own investing respectively. The outsourcing also affects the cost structure of the fleet by increasing the variable cost while reducing the fixed cost until the fixed cost is less than 15% of total cost. Consequently, this total cost obviously reflects the operation volume. Given the analysis results, the study proposes two measures to solve the operation effectiveness and efficiency. Firstly, adjusting the driver management to improve the working hours and reduce the rate of spare worker. Secondly, selecting proper fleet model to reduce the resource management.en
dc.format.extent1321068 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการขนส่งทางบกen
dc.subjectอุตสาหกรรมรถยนต์en
dc.subjectรถยนต์ -- การขนส่งen
dc.subjectการควบคุมต้นทุนการผลิตen
dc.titleการปรับเปลี่ยนโครงสร้างกองกำลังขนส่งเพื่อลดต้นทุนen
dc.title.alternativeThe implementation of fleet restructuring to improve transportation costen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKamonchanok.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ploenporn_va.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.