Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1290
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ พุทธิวิสุทธิศักดิ์-
dc.contributor.authorยศกร ประทุมวัลย์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-31T10:34:21Z-
dc.date.available2006-07-31T10:34:21Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741726724-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1290-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอระเบียบวิธีเชิงตัวเลขแบบไฟไนต์วอลุมเพื่อวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อนแบบคอนจูเกต ซึ่งเป็นการคำนวณการพาความร้อนภายในของไหลและการนำความร้อนภายในของแข็งควบคู่กัน แบบจำลองสำหรับการคำนวณได้รวมขอบเขตของของแข็งและของไหลไว้ภายในโดเมนเดียว ซึ่งวิธีการเชื่อมโยงระหว่างการนำความร้อนและการพาความร้อนใช้หลักการที่ว่าปริมาณความร้อนที่เข้าและออกจากทั้งของแข็งและของไหลที่ผิวรอยต่อของทั้งคู่ต้องมีค่าเท่ากัน โดยในที่นี้ จะใช้ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิกในการประมาณค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนที่รอยต่อระหว่างของแข็งและของไหล การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เริ่มกระทำโดยการเพิ่มเติมส่วนของการคำนวณปัญหาการถ่ายเทความร้อนลงไปในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เดิม (Putivisutisak, 2002) จากนั้นจึงประยุกต์วิธีการคำนวณการถ่ายเทความร้อนแบบคอนจูเกตเข้ากับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้น การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นจะทำโดยการนำผลลัพธ์ที่ได้จากวิเคราะห์ไปเปรียบเทียบกับปัญหาอย่างง่ายที่มีผลเฉลยแม่นตรง ผลการคำนวณหรือผลการทดลองที่ได้มีผู้ทำมาแล้ว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องแล้วจะถูกนำไปวิเคราะห์ปัญหาการไหลและการถ่ายเทความร้อน เพื่อศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติต่างๆ ต่อการถ่ายเทความร้อนแบบคอนจูเกตและศึกษาผลกระทบของแรงลอยตัวเนื่องจากความแตกต่างของอุณหภูมิที่มีต่อการไหล ในวิทยานิพนธ์นี้ยังได้แสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการคำนวณการถ่ายเทความร้อนในกรณีที่มีการพาความร้อนเพียงอย่างเดียวกับกรณีที่พิจารณาเป็นการถ่ายเทความร้อนแบบคอนจูเกตen
dc.description.abstractalternativeIn this thesis, a finite volume method for conjugate heat transfer problems is presented. Heat convection in fluid and heat conduction in solid are solved simultaneously so that the solid and fluid regions are treated as a unified computational domain. A harmonic mean of the diffusion coefficients and the piecewise-linear temperature profile have been employed to approximate the heat flux at the solid-fluid interface in order to ensure the overall energy balance of the computed results. A computer program has been further developed for fluid flow and heat transfer problems from the previous computer program (Putivisutisak, 2002). The conjugate heat transfer is implemented. The developed computer program is validated by solving simple problems, of which exact solutions, experimental or other numerical results are available. The verified computer program is then used to solve conjugate heat transfer problems. The effects of thermal and fluid properties on conjugate heat transfer and the effects of buoyant forces on the flow characteristics are studied. In addition, the differences between the results obtained using the conjugate-heat-transfer calculation and those with the convection-heat-transfer calculation are presented.en
dc.format.extent2047327 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความร้อน -- การถ่ายเทen
dc.subjectไฟไนต์วอลุมen
dc.titleระเบียบวิธีไฟไนต์วอลุมเพื่อการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนแบบคอนจูเกตen
dc.title.alternativeFinite volume method for analysis of conjugate heat transferen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yotsakorn.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.