Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรเวศม์ สุวรรณระดา-
dc.contributor.authorจริยภัทร รัตโณภาส-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-06-25T08:24:50Z-
dc.date.available2010-06-25T08:24:50Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12994-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractในงานศึกษาครั้งนี้ทำการศึกษาถึงปัจจัยกำหนดการบริจาค/ไม่บริจาค ปริมาณการบริจาคของครัวเรือน และปัจเจกบุคคล (ครัวเรือนคนเดียว) รวมทั้งศึกษาแรงจูงใจ ผลกระทบของรายได้ และผลกระทบของมาตรการลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีการบริจาค โดยใช้แบบจำลองโพรบิท (Probit Model) และแบบจำลองโทบิท (Tobit Model) นอกจากนั้นยังประมาณค่าอุปสงค์การบริจาคของอุปสงค์การบริจาคต่อราคาการบริจาคโดยใช้แบบจำลองการใช้จ่ายเชิงเส้น โดยใช้ข้อมูล 2 แหล่ง คือ ข้อมูลจากรายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนไทย ปี 2547 และชุดข้อมูลราคาสินค้าขายปลีกเฉลี่ยสำหรับจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภคชุดทั่วไปและชุดชนบท ปี 2547 ของกรมการค้า กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งข้อมูลจะถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ กลุ่มบริจาค กลุ่มสินค้าอาหาร และกลุ่มสินค้าไม่ใช่อาหาร จากผลการศึกษาอุปสงค์การบริจาคของครัวเรือน พบว่า การบริจาคมีความสัมพันธ์ในทิศทางลบกับราคาการบริจาค โดยค่าสัมบูรณ์ของความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าหนึ่ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการบริจาคมีลักษณะเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย (Luxury Goods) มากกว่าสินค้ากลุ่มอาหาร และกลุ่มไม่ใช่อาหาร จากผลการศึกษาปัจจัยกำหนดการบริจาค พบว่า แรงจูงใจในการบริจาคส่วนใหญ่เป็นแบบ “การเห็นแก่ตนเองและผู้อื่น (impure altruistic)” เว้นแต่การบริจาคเพื่อองค์กรการศึกษาของครัวเรือนและปัจเจกบุคคล รวมทั้งการบริจาคโดยรวมของปัจเจกบุคคลที่มีแรงจูงใจแบบ “การเห็นแก่ตนเอง (warm-glow)” ส่วนผลกระทบของรายได้ พบว่า รายได้ประจำมีผลกระทบต่อการบริจาคทุกประเภทสูงกว่ารายได้ประเภทอื่นๆ และเมื่อพิจารณาผลกระทบของรายได้หลังหักภาษีซึ่งเป็นตัวแปรที่สะท้อนถึงผลกระทบของมาตรการฯ พบว่า มีผลกระทบต่อการบริจาคเพื่อองค์กรศาสนาสูงกว่าการบริจาคประเภทอื่นๆen
dc.description.abstractalternativeThis research affords to investigate empirically the determinants of Thai households’ and individual donation, concentrating on the issue of motivation of giving. The estimation of Linear Expenditure System (LES) and econometric models as Probit and Tobit analysis is utilized together with household data from Socio-Economic Survey (SES) in year 2004. The results from LES analysis confirm the facts that, when donation price increases, demand for donation will decrease. Price elasticity of demand for donation is greater than one. Our results imply that, donation is luxury goods for household. According to Probit and Tobit analysis, our results show that motivation of Thai households’ total donation and donation by types namely, donation for person not in a household and donation for charitable institution, are impure-altruistic. Motivation of donation for educational institution is warm-glow. Other factors which determine statistically significantly households’ donation are permanent income, temporary income, income in-kind and disposable income.en
dc.format.extent3905495 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.816-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการบริจาคen
dc.titleปัจจัยกำหนดการบริจาคของครัวเรือนไทยen
dc.title.alternativeDeterminants of Thai households' donationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWorawet.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.816-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jariyapat.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.