Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12998
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์สิทธิ์ เฉลิมพงศ์-
dc.contributor.authorไกวัล วัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2010-06-25T08:29:46Z-
dc.date.available2010-06-25T08:29:46Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12998-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลกระทบของความสามารถในการเข้าถึงรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์พาณิชยกรรมในกรุงเทพฯ จากการวิเคราะห์ข้อมูลค่าเช่าพื้นที่อาคารสำนักงาน 100 แห่ง ในกรุงเทพฯ พบว่าการวิเคราะห์สมการถดถอยโดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (OLS) ทำให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่เที่ยงตรงและไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของข้อมูล ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยจึงได้ใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยนอกจากจะใช้ตัวแปรคุณลักษณะอาคาร เช่น อายุ จำนวนชั้น จำนวนลิฟท์ เป็นตัวแปรอิสระในการอธิบายค่าเช่าพื้นที่สำหรับแต่ละอาคารแล้ว ยังได้นำ GIS มาใช้ในการวัดระยะในการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อใช้เป็นตัวแปรอิสระอีกด้วย ระยะทางนี้ได้ใช้ในการหาความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของค่าเช่าพื้นที่อาคาร และใช้ในการสร้างเมตริกซ์ถ่วงน้ำหนักเพื่อประกอบการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพื้นที่ พบว่าอาคารสำนักงานที่ตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนมากขึ้น 1 กิโลเมตร จะมีราคาเช่าพื้นที่ต่อเดือนเฉลี่ยลดลงประมาณ 19 บาทต่อตารางเมตร ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้อ้างอิงในการกำหนดนโยบายการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์ที่มีมูลค่าเพิ่มจากการสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนได้อย่างเหมาะสมต่อไปen
dc.description.abstractalternativeIn this research, we examine the effect of mass transit station accessibility on commercial real-estate property development in Bangkok. Analysis of rental data from 100 office buildings in Bangkok show that estimation of hedonic regression using ordinary least square (OLS) method yields biased and inefficient results, due to spatial correlation among property prices. Therefore, we use the spatial regression technique to remedy this problem. In addition to using building characteristics, such as age, number of floors and number of elevators, as explanatory variables for office rental price variation, we employ GIS to measure distance from each property to transit station, which is used to develop weight matrices for spatial econometric analysis. The estimation of spatial hedonic regressions results reveal that an office building that is located one kilometer farther from a transit station commands approximately 19 Baht per square meter in monthly rent less than does the one immediately adjacent to the station. The result of this research can be used as a basis on which appropriate taxation policies for commercial properties near transit station are formulated.en
dc.format.extent2092274 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.787-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถไฟฟ้าen
dc.subjectการขนส่งมวลชนen
dc.subjectการใช้ที่ดินในเมืองen
dc.subjectอสังหาริมทรัพย์ -- การประเมินราคาen
dc.titleการวิเคราะห์ผลกระทบของความสามารถในการเข้าถึงรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์พาณิชยกรรม ในกรุงเทพมหานครด้วยวิธีเศรษฐมิติเชิงพื้นที่en
dc.title.alternativeSpatial econometric analysis of effects of mass rapid transit accessibility on commercial real estate property development in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSaksith.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.787-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kaiwan_wa.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.