Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13052
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภิญโญ มีชำนะ | - |
dc.contributor.author | คณิตภูมิ พิบูลนุรักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-07-20T04:13:15Z | - |
dc.date.available | 2010-07-20T04:13:15Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13052 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en |
dc.description.abstract | แยกหัวตะกรันทองแดงออกจากตะกรันทองแดงซึ่งเป็นของเสียจากโรงถลุงทองแดงเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ ตะกรันทองแดงที่ใช้ในการศึกษานี้มีปริมาณทองแดงอยู่ 7.82% ถูกนำมาทดลองแยกด้วยวิธีโต๊ะสั่น และการลอยแยกเพื่อการเปรียบเทียบ จากการทดลองแยกด้วยโต๊ะสั่นพบว่าการนำตะกรันมาบดด้วยเครื่องบดลูกปืนกลมจนมีขนาดเล็กกว่า 120 เมช ทั้งหมด สามารถแยกหัวตะกรันทองแดงที่มีปริมาณทองแดงสูงถึง 25.68% โดยมีการเก็บคืนโลหะทองแดงต่ำเพียง 12.97% จากนั้นจึงทดลองแยกด้วยวิธีลอยแยกพบว่า การนำตะกรันมาบดด้วยเครื่องบดลูกปืนกลมจนมีขนาดเล็กกว่า 100 เมช ทั้งหมด สามารถลอยแยกหัวตะรันทองแดงที่มีปริมาณทองแดงถึง 25.91% โดยมีการเก็บกลับคืนสูงถึง 91.44% หัวตะกรันทองแดงจากการแยกทั้ง 2 วิธี สามารถแยกออกมาเพื่อนำมาป้อนให้แก่โรงถลุงทองแดงได้ เนื่องมาจากมีปริมาณทองแดงสูงกว่า 23% ซึ่งกำหนดไว้สำหรับทองแดงที่ป้อนเข้าโรงถลุงทองแดง แต่ปริมาณการเก็บกลับคืนโลหะทองแดงด้วยการลอยแยกสามารถให้การเก็บกลับโลหะทองแดงที่สูงกว่า ดังนั้นจึงควรแยกตะกรันทองแดงด้วยวิธีการลอยแยก | en |
dc.description.abstractalternative | To separate copper concentrate from copper slag which is the waste from copper smelter for recycling. Copper slag containing 7.82% Cu was tested to comparably separate the copper concentrates by shaking table and froth flotation method. The shaking table test was to grind the copper slag to be less than 120 mesh and then fed to shaking table. The copper concentrate obtained was found to contain 25.68% Cu with the lower recovery of 12.97%. Froth flotation is then proposed to separate the copper concentrate from the slag. Grinding of copper slag to be less than 100 mesh and then fed through flotation cell was tried to obtained copper concentrate containg 25.91% Cu with the higher recovery of 91.44%. The copper concentrates obtained from both tests can be recycled as the feed for copper smelter as they contain more than 23% copper (as specified by copper smelter). Therefore, froth flotation is recommended to separate copper concentrate from the copper slag. | en |
dc.format.extent | 5021034 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.835 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การแยก (เทคโนโลยี) | en |
dc.subject | ทองแดง -- การแยก | en |
dc.subject | ทองแดง -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | en |
dc.subject | ตะกรันทองแดง | en |
dc.title | การเก็บกลับคืนโลหะทองแดงในตะกรันจากกระบวนการผลิตทองแดงด้วยเทคนิคทางฟิสิกส์ | en |
dc.title.alternative | Recovery of copper from copper slag by physical separation techique | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมทรัพยากรธรณี | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pinyo.M@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.835 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
kanipoom_pi.pdf | 4.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.