Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิเทศ ตินณะกุล | - |
dc.contributor.author | ธิคำพร อดทน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2010-07-23T01:55:31Z | - |
dc.date.available | 2010-07-23T01:55:31Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743342826 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13073 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง "ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีภรรยาน้อยของผู้ชาย" มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ เพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ ปัจจัยเกี่ยวกับภูมิหลัง ประกอบด้วย อายุ อาชีพ รายได้ และปัจจัยอื่นๆ อันได้แก่ ปัจจัยเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคม อำนาจการตัดสินใจในครอบครัว ความพึงพอใจในชีวิตสมรส และความใกล้ชิด ที่มีต่อการมีภรรยาน้อยของผู้ชาย โดยเป็นการศึกษาถึงสาเหตุและความสัมพันธ์ในครอบครัวของผู้ชายที่มีภรรยาน้อย อันจะเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการที่ผู้ชายมีภรรยาน้อยได้ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ กลุ่มตัวอย่างจากประชากรเพศชายที่สมรสแล้วตามกฎหมาย และมีภรรยาน้อยอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ ใช้การคัดเลือกตัวอย่างประชากรแบบไม่มีความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) และเป็นการคัดเลือกตัวอย่างตามแต่เผอิญ (Accidental sampling) จำนวน 15 ราย สำหรับผลการวิจัยสรุปได้ว่า ผู้ชายที่มีภรรยาน้อยส่วนใหญ่อายุมากกว่า 30 ปี การศึกษาส่วนใหญ่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี เมื่อพิจารณาจากรายได้นั้นพบว่าผู้ชายที่มีภรรยาน้อยนั้น เป็นผู้ชายในทุกระดับชั้นทางสังคม และพบว่าส่วนใหญ่มีรายได้ระดับปานกลาง ในด้านอาชีพพบว่าผู้ชายที่มีภรรยาน้อยนั้นส่วนใหญ่มีอาชีพรับราชการ ในด้านปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีภรรยาน้อยนั้นพบว่ามีปัจจัยที่มีอิทธิพลได้แก่ ปัจจัยเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคมอันประกอบด้วย การเลียนแบบสมาชิกในครอบครัวและการเลียนแบบเพื่อน ปัจจัยเกี่ยวกับอำนาจการตัดสินใจในครอบครัว ปัจจัยเกี่ยวกับความพึงพอใจในชีวิตสมรส อันได้แก่ ความไม่พึงพอใจในนิสัยที่เปลี่ยนแปลงของคู่สมรส และปัจจัยเกี่ยวกับความใกล้ชิด ซึ่งทั้งหมดเป็นปัจจัยที่ยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนปัจจัยที่ปฏิเสธได้แก่ ปัจจัยเกี่ยวกับความไม่พึงพอใจต่อการทำงานนอกบ้านของคู่สมรส และปัจจัยที่เกี่ยวกับความไม่พึงพอใจในความสัมพันธ์ทางเพศกับคู่สมรส | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of studying the factors influencing the husband to have mistresses were : to study different factors that led to the reasons why husband had mistresses such as background which included age, occupation, income. The other factors such as socialization, the priority in decision-making within a family, satisfaction in married life, and propinquity between husband and mistresses. The study focusing primarily about the cause and family relationship of husband who had mistresses, which could be used as a guideline to prevent and solve problems. The populations used in this study were fifteen samples from the male population in Bangkok and Samutprakarn that were legally married and currently had mistresses. The sampling methods being used were Nonprobability and Accidental sampling. This study indicated that most males who had mistresses were above thirty years old, the average education backgroud was below the Bachelor Degree, and when considered the income record, it showed that most of them were in the middle class, and worked with the government. The factors that influenced the husband to have mistresses were in accordance with hypotheses namely : socialization that included the imitation from the family members and frends, priority in decision-making, dissatisfaction in the changing behavior of marriage partner and propinquity between husband and mistresses. The factors that rejected the hypotheses were dissatisfaction with wives' occupations and sexual relationship. | en |
dc.format.extent | 435950 bytes | - |
dc.format.extent | 349443 bytes | - |
dc.format.extent | 2775931 bytes | - |
dc.format.extent | 273819 bytes | - |
dc.format.extent | 6473504 bytes | - |
dc.format.extent | 741443 bytes | - |
dc.format.extent | 498790 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ครอบครัว -- ไทย | en |
dc.subject | สามีและภรรยา | en |
dc.subject | ภรรยาน้อย | en |
dc.subject | ครอบครัว | en |
dc.subject | ภรรยา | en |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีภรรยาน้อยของผู้ชาย | en |
dc.title.alternative | Factors influencing the husband to have mistresses | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สังคมวิทยามหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สังคมวิทยา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Nithet.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tikamporn_Od_front.pdf | 425.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tikamporn_Od_ch1.pdf | 341.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tikamporn_Od_ch2.pdf | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tikamporn_Od_ch3.pdf | 267.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tikamporn_Od_ch4.pdf | 6.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Tikamporn_Od_ch5.pdf | 724.07 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Tikamporn_Od_back.pdf | 487.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.