Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1314
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญณรงค์ บาลมงคล-
dc.contributor.authorเอกรินทร์ พงศ์พีรพัฒน์, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-01T08:44:02Z-
dc.date.available2006-08-01T08:44:02Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741724721-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1314-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้กล่าวถึงการประเมินอัตราการเกิดความผิดพร่องเนื่องจากฟ้าผ่าของระบบสายส่ง 500 กิโลโวลต์ ซึ่งได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ในส่วนแรกเป็นการหาค่ากระแสฟ้าผ่าวิกฤติที่สามารถก่อให้เกิดความผิดพร่องของสายส่งด้วยโปรแกรม EMTP พร้อมศึกษาผลของแบบจำลองการเกิดเบรกดาวน์ของแกปอากาศระหว่างอาร์กซิ่งฮอร์น แบบจำลองความต้านทานดินของฐานเสา แบบจำลองกับดักฟ้าผ่า และการติดตั้งกับดักฟ้าผ่า ในส่วนที่สองนำค่ากระแสไฟฟ้าวิกฤติที่ได้มาประเมินอัตราการเกิดความผิดพร่องเนื่องจากฟ้าผ่าโดยใช้ทฤษฎีของ Armstrong-Whitehead (A-W) และเปรียบเทียบผลที่ได้กับโปรแกรม FLASH และ LPDW ผลการคำนวณอัตราการเกิดความผิดพร่องด้วยการใช้โปรแกรม EMTP ควบคู่ไปกับโปรแกรม A-W เทียบกับการใช้โปรแกรม FLASH พบว่า ค่าอัตราการเกิดความผิดพร่องที่ประเมินำได้มีค่าใกล้เคียงกัน คือ 0.42 และ 0.43 ครั้ง/100 กิโลเมตร/ปี ตามลำดับ แต่การคำนวณด้วย LPDW ไม่สามารถทำได้กับระบบที่กระแสฟ้าผ่าวิกฤติมีค่าเกินกว่า 300 kA จึงไม่สามารถนำมาใช้กับการศึกษานี้ได้en
dc.description.abstractalternativeThis thesis describes the evaluation of fault rate caused by lightning of 500 kV transmission system. It is divided into 2 parts. In the first part, the critical lightning currents causing faults of 500 kV transmissiong system are determined using Electromagnetic Transients Program (EMTP) including study the effects of breakdown models of air gap between arcing horn, tower footing resistance models, lightning arrester models, and installation of lightning arresters. In the second part, the critical lightning currents are used to evaluate fault rate with Armstrong-Whitehead (A-W) shielding theory. The evaluated results are compared with FLASH and LPDW program. The fault rate evaluated by EMTP with A-W shielding theory is close to the fault rate evaluated by FLASH, i.e. 0.42 and 0.43 flashes/100 km/year respectively. But LPDW can not evaluate fault rate when the critical lightning current of the system is higher than 300 kA. Therefore, it can not be used in this study.en
dc.format.extent2116409 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลังen
dc.subjectฟ้าผ่าen
dc.subjectแรงดันไฟฟ้าเกินen
dc.subjectการส่งกำลังไฟฟ้าen
dc.subjectสัญญาณไฟกระโชกen
dc.titleการประเมินอัตราการเกิดความผิดพร่องเนื่องจากฟ้าผ่าของระบบสายส่ง 500 กิโลโวลต์en
dc.title.alternativeEvaluation of fault trate caused by lightning of 500 kV transmission systemen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChannarong.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eakarin.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.