Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13198
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรูญ มหิทธาฟองกุล | - |
dc.contributor.author | มานพ วงษ์ปราชญ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-08-03T02:37:42Z | - |
dc.date.available | 2010-08-03T02:37:42Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13198 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en |
dc.description.abstract | บริษัทกรณีศึกษาเริ่มต้นกิจการครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เป็นบริษัทที่ทำการจัดหาและกระจายสินค้าสู่วงการอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ เนื่องจากเป็นบริษัทที่ทำการจัดหาและกระจายสินค้าจึงยังไม่มีสายการผลิตจำเพาะเจาะจง มีเพียงแต่ส่วนที่ต้องปฎิบัติการเกี่ยวกับการตรวจสอบ (Quality control) การจัดการเกี่ยวกับวัสดุหีบห่อ (Repackaging) และการจัดการเกี่ยวกับวัสดุคงคลัง (Inventory control) ปัญหาที่มีก็คือ การจัดส่งของให้ได้ตามจำนวนที่ลูกค้าต้องการให้ได้ทันเวลานั้น จำเป็นต้องมีการประกันคุณภาพได้ว่าสินค้าทุกหน่วยที่ส่งไป ต้องสามารถใช้งานได้หรือมีของเสียอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย ซึ่งปัจจุบันมีปัญหาเกี่ยวกับรอยขีดข่วนและรอยด่างบนหน้ากากวิทยุรถยนต์ ซึ่งแม้จะไม่กระทบต่อคุณสมบัติการใช้งานแต่ก็เป็นปัญหาที่ลูกค้าร้องเรียนและต้องตีของกลับเป็นจำนวนมาก จึงทำให้ทางศูนย์กระจายสินค้าต้องเตรียมของที่จะนำส่งลูกค้าเพื่อทดแทนให้ได้เต็มจำนวนและทันเวลา แต่ทางศูนย์เองก็มิอาจทราบเป็นจำนวนที่แน่นอนได้ว่า สินค้าที่กำลังจะมานั้นจะมีของเสียเป็นร้อยละเท่าใด ซึ่งหากทางศูนย์สำรองของทดแทนไว้มากเกินไปก็จะทำให้เสียค่าใช้จ่ายศูนย์เปล่าทั้งค่าเก็บรักษาและจัดส่ง หากสำรองไว้น้อยเกินไปก็จะทำให้นำไปทดแทนของเสียได้ไม่เต็มจำนวนและทำให้สายการผลิตลูกค้าติดขัดได้ จากปัญหาเดิมมีปัญหาร้องเรียนเรื่องดังกล่าวมาประมาณ 3.4% ปริมาณของเสียที่รับได้ เช่น ไม่ว่าจะลดของเสียจนสินค้าที่ส่งมาต้องการสำรองเพียง 1 ชิ้น หรือ 499 ชิ้น ก็ต้องส่งมา 500 ชิ้นจากเงื่อนไขนี้จึงยอมให้แต่ละเดือนมีของเสียได้ไม่เกิน 500 ชิ้น ยอดสั่งโดยเฉลี่ย 42500 ชิ้น หรือคิดเป็น 1.18% วิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีการประยุกต์ใช้ เครื่องมือทางการควบคุมคุณภาพ เพื่อหาสาเหตุรวมถึงการประเมินปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของปัญหา เช่น FMEA มาพิจารณาหน้ากากวิทยูในรุ่นที่มีผลิตในประเทศ โดยจะพิจารณาปัญหาที่มีการร้องเรียนมาสูงสุด 2 อันดับแรกคือ เรื่องรอยขีดข่วนและรอยด่าง เพื่อหาสาเหตุและแก้ปัญหาที่ต้นทางต่อไป ซึ่งหลังปรับปรุงที่ได้มุ่งประเด็นที่ปัจจัยที่ฝุ่นที่มาทำให้เกิดริ้วรอยบนหน้าปัด ได้ข้อมูลหลังปรับปรุงมีของเสียลดลงเป็น 1.1% เป็นระยะเวลา 6 เดือน นอกจากนี้ได้มีการวางระบบการควบคุมระดับปัญหาให้ได้ในระดับที่ต้องการโดยมีการประยุกต์ใช้ QA Network มาเป็นระดับหรือเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง | en |
dc.description.abstractalternative | In IPO company is the business to trading and sourcing part to supply to customer both local and oversea to compare both quality and price, this point of thesis is focus to the Automotive product (Car Audio cover or Escutcheon) that have the customer complain about scratch and stain, due to this problem is resulting customer production line cannot run smoothly and it’s the responsibility to support the replacement to production In each replacement, we cannot know in advance the exactly quantity of NG coming in next lot so if the replacement was prepared in over quantity, the cost of keeping and shipment will be over. On the other hands, if the replacement was order less than NG happen will be provide production line part short problem later Refer to customer complain for this had 3.4% before improvement and after improvement via concentrate the root cause of environment, the problem reduce to be 1.1% in 6 months continually The way to solve this problem is investigation the root cause since the factory via this thesis will be focus only factory in Local in order to having data enough for analysis After considering from customer complain the most 2 items is scratch and strain problem Thus these 2 items will be main in this thesis, but not only root cause and its solution because the distribution company also needed the system to guarantee the quality and its control to consistency in other lot. The criteria to evaluate are the important point to be applied with QA network for continually improvement in this way. | en |
dc.format.extent | 2938533 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1700 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การควบคุมคุณภาพ | en |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ -- ข้อบกพร่อง | en |
dc.subject | การควบคุมกระบวนการผลิต | en |
dc.subject | การควบคุมความสูญเปล่า | en |
dc.title | การพัฒนาระบบประกันคุณภาพสำหรับหน้ากากวิทยุรถยนต์ | en |
dc.title.alternative | Development of quality assurance system for escutcheon of car audio | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fiecmh@eng.chula.ac.th, Charoon.M@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.1700 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.