Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13358
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิ่นรัชฎ์ กาญจนัษฐิติ | - |
dc.contributor.author | สุชล มัลลิกะมาลย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-08-31T08:41:27Z | - |
dc.date.available | 2010-08-31T08:41:27Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13358 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en |
dc.description.abstract | อาณาจักรล้านนาก่อกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1893 และเสื่อมลงใน พ.ศ. 2101 อาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมัยที่พระเจ้าติโลกราชปกครองอาณาจักร พระองค์มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ดังนั้นพระองค์จึงได้ได้สร้างและปฏิสังขรณ์วัดเก่าที่ทรุดโทรมในอาณาจักรล้านนาขึ้น ในสมัยของพระองค์นั้น ซึ่งวัดพระธาตุลำปางหลวงเองก็ได้ถูกบูรณะขึ้นมาในช่วงเวลานั้นด้วยเช่นกัน วัดพระธาตุลำปางหลวงเป็นสถาปัตยกรรมอันเนื่องมาจากศาสนา และเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่ได้รับความเคารพและความศรัทธาจากคนโดยรอบ จึงทำให้วัดพระธาตุลำปางหลวงมีระบบโครงสร้างทางวัฒนธรรมของล้านนารองรับอยู่ เช่น ระบบเวียงทางศาสนาซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมชนประวัติศาสตร์เวียงพระธาตุลำปางหลวง ระบบการดูแลรักษาวัด เป็นต้น แต่แนวทางการอนุรักษ์ในปัจจุบันสนใจเฉพาะแต่การอนุรักษ์ในเชิงกายภาพของวัดพระธาตุลำปางหลงเท่านั้น โดยขาดการคำนึงถึงบริบททางวัฒนธรรม อันเป็นปัจจัยการในการก่อกำเนิด และเกื้อหนุนวัดพระธาตุลำปางหลวง การประชุมที่เมืองนาราเกี่ยวกับความแท้ในปี ค.ศ. 1994 ได้ข้อสรุปเป็น "เอกสารประกอบการประชุมนาราว่าด้วยความแท้" (Nara Document on Authenticity) เสนอให้พิจารณา มรดกทางวัฒนธรรมเป็นสองส่วนคือ การแสดงออกทางวัฒนธรรมที่มองเห็น และการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่มองไม่เห็น ซึ่งทั้งสององค์ประกอบนี้เป็นปัจจัยของกันและกันเป็นโครงสร้างทางวัฒนธรรม การวิจัยเพื่ออนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์เวียงพระธาตุลำปางหลวง โดยใช้พื้นฐานทางวัฒนธรรมนำแนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ พบว่าชุมชนประวัติศาสตร์เวียงพระธาตุลำปางหลวงประกอบด้วย โครงสร้างของมรดกทางวัฒนธรรมจำนวน 6 ชุดคือ รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน กับ วัฒนธรรมการอยู่อาศัย, ภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม กับ วัฒนธรรมในการทำการเกษตร ที่นา วัฒนธรรมในการกัลปนา กับ กรรมสิทธิ์ที่นา องค์พระธาตุลำปางหลวง กับ วัฒนธรรมการนับถือพุทธศาสนา สถาปัตยกรรมเขตพุทธาวาสวัดพระธาตุลำปางหลวง กับ การสร้างสรรค์งานของสกุลช่างลำปาง สถาปัตยกรรมเรือนพักอาศัย กับ ภูมิปัญญาในการสร้างเรือนพักอาศัยแบบประเพณี บทสรุปวิทยานิพนธ์ได้เสนอแนวคิดในการอนุรักษ์ ผ่านทางการฟื้นฟูโครงสร้างความสัมพันธ์ของมรดกทางวัฒนธรรมทั้ง 6 ประเด็นดังกล่าว เพื่อให้มรดกทางวัฒนธรรมชุมชนประวัติศาสตร์เวียงพระธาตุลำปางหลวง คงดำรงอยู่ต่อไปอย่างสมบูรณ์ทั้งในแง่ของการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่มองเห็น และการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่มองไม่เห็น | en |
dc.description.abstractalternative | Lanna kingdom was formed in 1296 and declined in 1558. In the reign of King Tilokaraj, Lanna reached the golden age. His majesty, Tilokaraj had a faith in Buddhism thus he had built and restored several monasteries in his kingdom for example Wat Phra Dhatu Lumpang Luang. Wat Phra Dhatu Lumpang Luang was a religious based architecture which played a significant role in Lanna context. According to its significance, the Lanna had created a systematic approach to support the monastery and monastic community. For example, The Religious Based City, Vieng Phra Dhatu Lumpang Luang and endowment system which supported the maintenance and conservation of the monastery. But the contemporary conservation practice in Thailand has only focused on the physical conservation of Wat Phra Dhatu Lumpang Luang without mentioning their cultural context. In Nara 1994. there was a conference concerning authenticity. Form the conference "Nara Document on Authenticity" was adopted. The text suggests that cultural heritage can be divided in to 2 categories, a tangible expression, an intangible expression and both categories are closely related. From the concept of Nara Document on Authenticity, the relationship of cultural heritage in Vieng Phra Dhatu Lumpang Luang Historic City can be considered in to 6 pairs of related elements: the settlement pattern and traditional lifestyle; the cultural landscape and the agricultural system; the rice fields and the monastic land endowment; Phra Dhatu Lumpang Luang and the Buddhism belief; the architectures in monastic area and the creativity of Lumpang craftsment family; the traditional house and the traditional building skill. In conclusion the research has established the concepts of tradition based conservation of Vieng Phra Dhatu Lumpang Luang Historic City in accordance with the 6 aspects described above. The conservation concept aims for the reviving of the structural relationship of the cultural heritage to maintain their richness of tangible expression and intangible expression. | en |
dc.format.extent | 4018966 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.447 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โบราณสถาน -- การอนุรักษ์และการบำรุงรักษา | en |
dc.subject | ชุมชนลำปางหลวง | en |
dc.subject | ลำปาง -- โบราณสถาน | en |
dc.title | การศึกษาชุมชนประวัติศาสตร์เวียงพระธาตุลำปางหลวง เพื่อกำหนดแนวคิดในการอนุรักษ์โดยใช้พื้นฐานทางวัฒนธรรม | en |
dc.title.alternative | The study of Vieng Phra Dhatu Lumpang Luang for establishing tradition based conservation concepts | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pinraj.K@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.447 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
suchon.pdf | 3.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.