Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตติน แตงเที่ยง-
dc.contributor.authorสรินรัช รัตนบุรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-10-04T03:01:06Z-
dc.date.available2010-10-04T03:01:06Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13582-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractศึกษาวิธีการวัดปริมาณการรั่วซึมของอากาศอัด ณ ตำแหน่งที่เกิดการรั่วซึมในรูปแบบต่างๆ เพื่อประเมินปริมาณการรั่วซึมของอากาศอัด โดยศึกษาจากการจำลองระบบอากาศอัดและตำแหน่งที่เกิดการรั่วซึมที่มีลักษณะเป็นรูกลม 4 ขนาดคือ รูกลมที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1, 2 ,3 และ 4 มิลลิเมตร แล้วนำเสนอวิธีการวัดปริมาณการรั่วซึมของอากาศอัดด้วยวิธีที่แตกต่างกัน 6 วิธี ซึ่งแต่ละวิธีที่นำเสนอเหล่านี้สามารถนำไปใช้งานกับระบบอากาศอัดในทางปฏิบัติได้ ทดลองที่ความดันแตกต่างกัน 8 ค่าคือ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 บาร์ แล้วนำผลที่ได้จากการทดลองมาเปรียบเทียบกัน จากผลการทดลองทำให้ทราบลักษณะ ข้อดี ข้อเสีย และค่าความแตกต่างของการวัด เมื่อกำหนดให้วิธีการวัดโดยใช้แอนนิโมมิเตอร์แบบ Hot Wire เป็นเกณฑ์ในการอ้างอิงค่าความแตกต่าง จะสามารถสรุปค่าความแตกต่างในการวัดของแต่ละวิธีได้คือ วิธีวัดโดยใช้หลักการแทนที่น้ำประมาณ 31.44% วิธีวัดโดยใช้ถุงครอบประมาณ 26.09% วิธีวัดโดยใช้วิธีวัดอัตราไหลของลำการไหลประมาณ 39.02% วิธีวัดโดยใช้หลอดปิโทท์ไม่สามารถทำการวัดได้ วิธีวัดโดยใช้แอนนิโมมิเตอร์แบบใบพัดวัดความเร็วภายในท่อโดยตรงประมาณ 7.18% และวิธีวัดโดยการคำนวณจากค่าความดันที่ตำแหน่งที่เกิดการรั่วซึมประมาณ 9.53% เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการเลือกวิธีการวัดให้เหมาะสม น่าเชื่อถือกับการนำไปใช้งานในทางปฏิบัติ การวัดปริมาณการรั่วซึมของอากาศอัด ณ ตำแหน่งที่เกิดการรั่วซึม ช่วยให้สามารถประเมินการสูญเสียพลังงานของระบบอากาศอัดที่เกิดจากการรั่วซึมของแต่ละตำแหน่งได้ เพื่อนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขระบบอากาศอัดให้มีการสูญเสียพลังงานที่ลดลง ทำให้ลดค่าใช้จ่ายของพลังงานที่สูญเสียไปได้en
dc.description.abstractalternativeThis thesis is a study of methods for measuring air leakage from a compressed-air system at the leaking position in order to estimate the amount of air leak. An experiment of the compressed-air system is set up by simulating the leak as four different sizes of a round hole of diameters 1, 2, 3 and 4 mm and conducted at increasing pressure from 1 to 8 bars by an increment of 1 bar. The selected six different methods for measuring air leakage are presented and compared. According to the experimental result, the comparisons between advantages and disadvantages among the six methods are made. The results obtained by the hot-wire anemometer in the pipe are selected as a reference case. It can be shown that the differences of the results from the water replacement, the plastic-bag coverage, the external jet flow measurement, the vane anemometer in the pipe and the calculation from the choked equation are 31.44, 26.09, 39.02, 7.18 and 9.53 percent, respectively. This thesis also provides the amount of energy consumption at different hole sizes and different air pressures as a guide to improve the energy efficiency of the compressed-air system.en
dc.format.extent2344239 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1730-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องอัดอากาศen
dc.subjectการรั่วซึมของอากาศen
dc.titleการศึกษาวิธีการวัดปริมาณการรั่วซึมของระบบอากาศอัด ณ ตำแหน่งที่เกิดการรั่วซึมในรูปแบบต่างๆen
dc.title.alternativeA study of the methods for measuring air leakage from compressed-air system at the leaking positionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChittin.T@Chula.ac.th, fmectt@eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1730-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarinrat_Ra.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.