Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชทิน จันทร์เจริญ-
dc.contributor.advisorมิ่งศักดิ์ ตั้งตระกูล-
dc.contributor.authorประพันธ์ พิกุลทอง, 2520--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-02T08:40:19Z-
dc.date.available2006-08-02T08:40:19Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741708653-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1359-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประมาณค่าอุณหภูมิอย่างต่อเนื่องของโลหะหลอมละลายอุณหภูมิสูงในเตาหลอมโลหะแบบเหนี่ยวนำไฟฟ้า การวัดอุณหภูมิทางตรงด้วยเทอร์โมคัปเปิ้ลมีข้อจำกัดที่ไม่สามารถวัดอุณหภูมิได้อย่างต่อเนื่อง เพราะน้ำเหล็กในกระบวนการหลอมอาจมีอุณหภูมิสูงถึงกว่า 1500 องศาเซลเซียส ประกอบกับน้ำเหล็กมักมีสิ่งสกปรกเจือปน หัววัดจะมีอายุการใช้งานสั้นหากแช่อยู่ในน้ำเหล็กอุณหภูมิสูงนานเกินไป วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอการวัดอุณหภูมิน้ำเหล็กทางอ้อม โดยการวัดพลังงานที่ป้อนเข้าเตาหลอม ค่าอุณหภูมิและอัตราการไหลของระบบน้ำหล่อเย็น และค่าอุณหภูมิที่ผนังเตาด้านนอก เพื่อประมาณค่าอุณหภูมิของน้ำเหล็กในเตาหลอมเทคนิคการประมาณอาศัยการพิจารณาสมการสมดุลความร้อนของเตา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้แสดงเปรียบเทียบค่าอุณหภูมิจริงกับค่าที่ประมาณด้วยวิธีการที่นำเสนอ ซึ่งแสดงถึงความแม่นยำของวิธีการ โดยค่าที่ประมาณได้กับค่าที่วัดได้จริงมีค่าความผิดพลาดสูงสุดอยู่ที่บวกลบ 8 องศาเซลเซียส ค่าเฉลี่ยความผิดพลาดเท่ากับ 2.42 องศาเซลเซียส และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.44 องศาเซลเซียส เมื่อนำระบบประมาณค่าอุณหภูมิที่ออกแบบนี้ไปใช้งานจริงที่ บริษัทสมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จำกัด โดยได้ทำการทดลองใช้งานจริงเป็นเวลา 1 เดือน พบว่าสามารถประหยัดพลังงานในส่วนของการควบคุมเตาหลอมและค่าหัวเทอร์โมคัปเปิ้ลมารวมกันได้ทั้งหมด 583ม279.07 บาท/ปี เมื่อคิดเงินลงทุนทั้งหมด 137,042.80 บาท/ปี ดังนั้นจะมีเวลาคืนทุนเท่ากับ 0.23 ปีen
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to develop a temperature estimation system for induction furnace that can monitor the molten steel temperature continuously. Direct measurement using thermocouple cannot measure the temperature continuously since the temperature of the molten steel may exceed 1500 degree celcius. In addition, there is impurity. The life of the thermocouple probe is short if submerses in the molten steel for too long. The proposed technique estimates the molten steel temperature from the power input, temperature and flow rate of the coolant, and the temperature at the wall based on the heat balance equation. The estimated temperature is compared with the temperature measured using thermocouple to demonstrate the accuracy of the technique. The maximum estimation error is about +/- 8 degree celcius. The mean and standard deviation of error are 2.42 degree celcius and 3.44 degree celcius respectively. Temperature measurement system has been installed at the Somboon Malleable Iron Industrial Co., Ltd. The one-month test indicates that the system could reduce the cost of energy and thermocouple probe by 583,279.07 baht/year. The expenditure is 137,042.80 baht which results in the investment return of 0.23 year.en
dc.format.extent42855696 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโลหะ -- การหลอมen
dc.subjectเตาหลอมไฟฟ้าen
dc.subjectการวัดอุณหภูมิen
dc.titleการประมาณค่าอุณหภูมิน้ำเหล็กในเตาหลอมแบบเหนี่ยวนำไฟฟ้าen
dc.title.alternativeTemperature estimation of molten steel in induction furnaceen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRatchatin.C@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorfmemtt@eng.chula.ac.th, Mingsak.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prapan.pdf9.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.