Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย เยี่ยงวีรชน-
dc.contributor.advisorวิบูลย์ แสงวีพันธุ์ศิริ-
dc.contributor.authorชาติชาย ไวยสุระสิงห์, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-02T12:24:13Z-
dc.date.available2006-08-02T12:24:13Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741713657-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1372-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ได้นำเอาการสำรวจด้วยภาพถ่ายระยะใกล้มาประยุกต์เข้ากับการวัดความละเอียดสูงที่ความถูกต้องในเกณฑ์ 20 - 80 ไมครอน เพื่อการศึกษากระบวนการนำกล้องถ่ายภาพดิจิตอลความละเอียดสูงที่มีขายอยู่ทั่วไปตามท้องตลาด (ความละเอียดจุดภาพ 3 ล้านจุดภาพขึ้นไป) โดยงานวิจัยนี้ใช้กล้องโซนี่ รุ่น เอส 75 (SONY S-75) มาเก็บข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ชิ้นงานตามกรณีศึกษาที่กำหนดขึ้นจากกรรมวิธีการวัดสอบกล้อง กรรมวิธีการเก็บข้อมูลและจำนวนตำแหน่งถ่ายภาพแบบสมมาตร4ตำแหน่งและ8ตำแหน่ง ผลลัพธ์ที่ได้ แสดงถึง การวัดความละเอียดสูงความถูกต้องในระดับ 80 ไมครอนด้วยการวัดจากการสำรวจด้วยภาพถ่าย โดยปัจจัยที่มีผลให้ความถูกต้องของการวัดขนาดให้อยู่ในระดับที่ต้องการได้แก่ จำนวนตำแหน่งถ่ายภาพ กรรมวิธีในการวัดสอบกล้อง วิธีการวัดพิกัดภาพ ความถูกต้องของพิกัดหมุดบังคับภาพ ชนิดของเป้า การควบคุมแสงในการถ่ายภาพen
dc.description.abstractalternativeThis thesis investigated the procedure for high precision measurement using digital close range photogrammetry. A consumer grade digital camera type , Sony S-75 is used. In order to archive accuracy of 20-80 micron of the object dimension, several configurations were done: number of photographs, methods of camera calibration, data acquisition technique and symmetrical exposure stations. The outcome indicates the produce result of case study that the accuracy obtainable not more than 80 micron in dimension measures by digital close range photogrammetry. The main features of winning case studies are: number of camera exposure stations, type of camera calibrations, type of control and tie points marking, accuracy of control points, type of targets and lighting environment control.en
dc.format.extent3368403 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการถ่ายภาพen
dc.subjectกล้องถ่ายรูปดิจิตอลen
dc.subjectการรังวัดen
dc.titleการประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูงen
dc.title.alternativeApplication of close range photogrammetry for high precision measurementen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVichai.Y@chula.ac.th, vichai.y@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorViboon.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chattichai.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.