Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรศิริ หมื่นไชยศรี-
dc.contributor.authorมฑุปายาส ทองมาก, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-02T12:56:11Z-
dc.date.available2006-08-02T12:56:11Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741710518-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1378-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractออกแบบกฎการแปลงยูเอ็มแอลซีเควนซ์ไดอะแกรมเป็นชุดคำสั่งภาษาจาวา เพื่อสามารถนำกฎไปประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องมือสำหรับการแปลงยูเอ็มแอลซีเควนซ์ไดอะแกรมเป็นชุดคำสั่งภาษาจาวาต่อไป การออกแบบกฎจะเริ่มจากการออกแบบยูเอ็ม แอลเมต้าโมเดลเพื่อใช้ในการแปลงซีเควนซ์ไดอะแกรม แล้วจึงออกแบบกฎการแปลงยูเอ็มแอลซีเควนซ์ไดอะแกรมเป็นชุดคำสั่งภาษาจาวา 8 กฎ คือเมต้ารูลสำหรับการแปลงคลาสไดอะแกรมของเมทธอดที่ซีเควนซ์ไดอะแกรมอธิบาย เมต้ารูลสำหรับการแบ่งซีเควนซ์ เมต้ารูลสำหรับการเรียกเมทธอดที่มีเงื่อนไข และการแตกกิ่ง, เมต้ารูลสำหรับการกำหนดค่าให้ตัวแปร เมต้ารูลสำหรับการกำหนดค่าให้ตัวชี้ เมต้ารูลสำหรับการสร้างวัตถุใหม่ เมต้ารูลสำหรับการเรียกเมทธอดของวัตถุที่มีอยู่แล้ว และเมต้ารูลสำหรับการเรียกเมทธอดของตัววัตถุเอง หลังจากพัฒนาเครื่องมือที่ประยุกต์ใช้กฎการแปลงยูเอ็มแอลซีเควนซ์ไดอะแกรมเป็นชุดคำสั่งภาษาจาวา ได้ทดลองแปลงซีเควนซ์ไดอะแกรมของเมทธอด 3 แผนภาพคือ ซีเควนซ์ไดอะแกรมของเมทธอดจองของระบบห้องพัก ซีเควนซ์ไดอะแกรมของเมทธอดคืนหนังสือของระบบห้องสมุด และซีเควนซ์ไดอะแกรมของเมทธอดแสดงของระบบกองไพ่ แล้วจึงคำนวณหาอัตราส่วนชุดคำสั่งที่สร้างได้ต่อชุดคำสั่งจริง โดยคิดเป็นร้อยละจากบรรทัดคำสั่งที่สร้างได้จากการประยุกต์ใช้กฎต่อบรรทัดคำสั่งจากชุดคำสั่งจริง ผลการคำนวณพบว่าเมทธอดจองของระบบห้องพักสามารถสร้างชุดคำสั่งได้ร้อยละ 81.25 เมทธอดคืนหนังสือของระบบห้องสมุดสามารถสร้างชุดคำสั่งได้ร้อยละ 71.43 และเมทธอดแสดงของระบบกองไพ่สามารถสร้างชุดคำสั่งได้ร้อยละ 93.3en
dc.description.abstractalternativeDesignes rules for transforming UML sequence diagrams into Java code. Using these rules, an automated tool to generate Java code from UML sequence diagrams was built. The design started by designing UML meta model for sequence diagrams, then designing rules for transforming UML sequence diagrams into Java code. Eight rules consist of meta rules for class diagram of a method that the sequence diagram depicts, meta rules for splitting of SEQUENCE, meta rules for conditional method invocation and branching, meta rules for assigning a value to a variable, meta rules for assigning object to pointer,meta rules for creating new object, meta rules for invoking a method of existing object, and meta rules for invoking a method of object itself. With these rules, an automated tool was built to transform UML sequence diagrams into Java code. Three sequence diagrams were used as input. They are sequence diagrams that represent a method for making room reservation, a method for returning a book and a method for displaying a card pile. The percentage of generated source code per complete source code from method making room reservation is 81.25, from method returning a book is 71.43 and from method displaying a card pile is 93.3.en
dc.format.extent3412406 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectยูเอ็มแอล (วิทยาการคอมพิวเตอร์)en
dc.subjectซอฟต์แวร์ -- การพัฒนาen
dc.subjectวิธีเชิงวัตถุ (วิทยาการคอมพิวเตอร์)en
dc.subjectจาวา (ภาษาคอมพิวเตอร์)en
dc.titleการออกแบบกฎการแปลงยูเอ็มแอลซีเควนซ์ไดอะแกรมเป็นชุดคำสั่งภาษาจาวาen
dc.title.alternativeDesign of rules for transforming UML sequence diagrams into Java codeen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPornsiri.Mu@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mathupayas.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.