Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13944
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สีรง ปรีชานนท์ | - |
dc.contributor.author | กฤษณะ สถิตย์นุวัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-11-25T03:30:17Z | - |
dc.date.available | 2010-11-25T03:30:17Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745315737 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13944 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | ปัญหาที่สำคัญของการจัดส่งอ้อยจากไร่เข้าสู่โรงงานน้ำตาลในประเทศไทยปัญหาหนึ่งคือ การที่รถบรรทุกเสียเวลารอคอยการจัดส่งที่โรงงานเป็นระยะเวลานานเพื่อเทอ้อยเข้าสู่กระบวนการผลิตในโรงงาน การรอคอยที่ยาวนานนี้มีสาเหตุมาจากความไม่สม่ำเสมอของปริมาณรถบรรทุกที่จัดส่งเข้าสู่โรงงาน ทำให้อัตราการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เช่น รถบรรทุก แรงงาน และเครื่องมือต่างๆ อยู่ในระดับต่ำ และทำให้เกิดการสูญเสียน้ำหนักและความหวานของอ้อย ต้นทุนการขนส่งอ้อยเข้าสู่โรงงานและต้นทุนการผลิตน้ำตาลทรายของประเทศไทย จึงอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศผู้ส่งออกน้ำตาลรายใหญ่อื่นๆ ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำเสนอระบบปฏิบัติการแบบใหม่ สำหรับการจัดส่งอ้อยจากไร่เข้าสู่โรงงาน 3 ระบบ ได้แก่ ระบบการจองเวลาการจัดส่งล่วงหน้า ระบบการแบ่งช่วงเวลาการจัดส่งของรถบรรทุก และระบบการผสมการจัดส่งแบบคิวล็อค (ระบบที่มีการเรียกรถบรรทุกเข้าโรงงาน) และคิวเสรี (ระบบที่ไม่มีการเรียกรถบรรทุกเข้าโรงงาน) เข้าด้วยกัน โดยระบบที่นำเสนอทั้งหมดมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ ต้องการกระจายการจัดส่งอ้อยของชาวไร่ให้สม่ำเสมอตลอดทุกช่วงเวลา จากนั้นผู้วิจัยได้วิเคราะห์ประสิทธิผลของระบบปฏิบัติการดังกล่าว โดยการวิเคราะห์เชิงปริมาณและการประยุกต์ใช้แบบจำลองสถานการณ์ (Simulation model) ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า ระบบปฏิบัติการสำหรับการจัดส่งอ้อยเข้าสู่โรงงานที่ผู้วิจัยนำเสนอ สามารถลดระยะเวลารอคอยเฉลี่ยที่รถบรรทุกใช้ภายในโรงงานได้อย่างมีนัยสำคัญ | en |
dc.description.abstractalternative | One of the major problems in Thailand’s sugarcane delivery system is the long waiting time of the sugarcane delivery trucks. This long waiting time is generally due to the fluctuation of truck arrival rate during a day. Resource utilization is therefore low. At the same time, sugarcane weight loss is high. Comparing with other sugar exporters, it is not surprising that Thailand’s sugarcane transportation cost is relatively high. This research proposes three new operating systems for farm-to-mill sugarcane delivery process. The proposed systems aim at evenly spreading out the truck arrivals during a day. Experimental results show that if implemented successfully the proposed systems can significantly reduce average waiting time of the delivery trucks and therefore reduce the sugarcane transportation cost. | en |
dc.format.extent | 1504503 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การขนส่งสินค้า | en |
dc.subject | อ้อย -- การขนส่ง | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมน้ำตาล | en |
dc.title | ระบบปฏิบัติการสำหรับการจัดส่งอ้อยจากไร่เข้าสู่โรงงาน | en |
dc.title.alternative | The operation for farm-to-mill sugarcane supply | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Seeroong.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kidsana_Sa.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.