Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดชา ฉัตรศิริเวช-
dc.contributor.advisorทศพร บุญยพิพัฒน์-
dc.contributor.authorรัตนพงศ์ วงศ์พิมพ์รัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-11-25T04:54:36Z-
dc.date.available2010-11-25T04:54:36Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741432321-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13951-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractปฎิกิริยาไฮโดรจิเนชันของไฮโดรคาร์บอนผสมที่ประกอบด้วย 1, 3 บิวทาไดอีน, ไฮโซบิวทีน 1-บิวทีน, 2-บิวทีน ไฮโซบิวเทน และนอร์มัลบิวเทน ได้คำนวณด้วยวิธีค่าพลังงานกิบส์ต่ำสุด ณ อุณหภูมิและความดันของการผลิต แบบจำลองเครื่องปฏิกรณ์เคมีที่เหมาะสมมี 2 ลักษณะ ได้แก่ แบบจำลองปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของบิวทาไดอีนเป็นบิวทีน และบิวเทนตามลำดับ และแบบจำลองปฏิกิริยาไอโซเมอร์ไรเซชันต่อด้วยปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของบิวทาไดอีนเป็นบิวทีน และบิวเทนตามลำดับ การคำนวณสัดส่วนการเกิดปฏิกิริยาของบิวทาไดอีน สัดส่วนการผลิตบิวทีนรวม และบิวเทนรวมได้ผลใกล้เคียงกับผลการผลิตภายใต้สภาวะเดียวกัน การเกิดปฏิกิริยาของบิวทาไดอีนเพิ่มขึ้น เมื่อเพิ่มอัตราส่วนของไฮโดรเจนต่อไฮโดรคาร์บอนผสมบิวทาไดอีนเกิดปฏิกิริยาได้สมบูรณ์ เมื่ออัตราส่วนของไฮโดรเจนต่อไฮโดรคาร์บอนผสมมีค่าใกล้เคียง ตามอัตราส่วนทางทฤษฎีสำหรับปฏิกิริยาบิวทาไดอีนเป็นบิวทีน การเลือกเกิดบิวทีนและบิวเทน ได้คำนวณจากการปรับสัดส่วนของขนาดปริมาณบิวทีน และบิวเทนที่เปลี่ยนไปตามลำดับ เมื่อเพิ่มอัตราส่วนของไฮโดรเจนต่อไฮโดรคาร์บอนผสม การเลือกเกิดบิวทีนจะลดลง ในขณะที่การเลือกเกิดบิวเทนเพิ่มขึ้นแบบเอ็กโพเนนเชียล และการเลือกเกิดบิวเทนเพียงอย่างเดียวเกิดขึ้นได้ เมื่ออัตราส่วนไฮโดรเจนต่อไฮโดรคาร์บอนผสม มีค่าใกล้เคียงกับอัตราส่วนทางทฤษฎีสำหรับปฏิกิริยาบิวทาไดอีนเป็นบิวเทนen
dc.description.abstractalternativeHydrogenation of mixed C4’s containing 1,3 butadiene, i-butene,1-butene, 2-butenes, i-butane and n-butane, was estimated by minimization of Gibbs free energy under actual operating pressure and temperature. Two approximate reactor models were hydrogenation of butadiene to butenes and butanes consecutively (HH), and isomerization of 1-butene to 2-butenes followed by hydrogenation of butadiene to butenes and butane respectively (IHH). The estimated of butadiene conversion and yields of butenes and butanes were quite agreed with the corresponding results obtained from actual operation. Butadiene conversion was improved by increase in hydrogen to feed ratio. The complete conversion could be achieved the theoretical hydrogen to feed ratio for hydrogenation of butadiene to butenes. Selectivities of butenes and butanes were estimated by normalizing magnitude of butene and butane amounts changed respectively. With increase in hydrogen to feed ratio, the selectivity of butenes decreased, whereas the other increased exponentially. The selectivity of butanes reached unity at the theoretical hydrogen to feed ratio for hydrogenation of butadiene to butanes.en
dc.format.extent1565893 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไฮโดรจีเนชันen
dc.subjectบิวทาไดอีนen
dc.subjectแอลคีนen
dc.subjectการเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์en
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองสมดุลเคมีสำหรับปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของบิวทาไดอีน จากการผลิตโอเลฟินส์en
dc.title.alternativeDevelopment of equilibrium model for butadiene hydrogenation from olefins productionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisordeacha.c@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ratanapong_Wo.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.