Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย เทพรักษ์-
dc.contributor.authorมานะ เอื้ออารีย์สินสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialบังกลาเทศ-
dc.date.accessioned2010-11-25T09:21:40Z-
dc.date.available2010-11-25T09:21:40Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745316326-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13968-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาพฤติกรรรมของเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.6 เมตรลึกประมาณ 80 เมตร ในโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำรุพซา ในประเทศบังกลาเทศ เป็นกรณีศึกษาเนื่องจากเสาเข็มเจาะทดสอบที่ไม่สามารถรับน้ำหนักบรรทุกได้ตามที่ออกแบบที่ 2200 ตัน ศึกษาเฉพาะเสาเข็มเจาะทดสอบจำนวนสามต้น เพื่อหาสาเหตุของปัญหาที่ทำให้เสาเข็มเจาะทดสอบไม่สามารถรับน้ำหนักบรรทุกได้ตามที่ออกแบบ รวมถึงวิธีทางที่จะแก้ไขเพื่อให้เสาเข็มสามารถกลับมาใช้งานได้ โดยใช้ข้อมูลการทดสอบกำลังรับน้ำหนักเสาเข็มเจาะ และผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ เสาเข็มเจาะทดสอบในโครงการมีจำนวน 3 ต้น โดยเสาเข็มเจาะทดสอบต้นแรก (TP1) ไม่สามารถรับกำลังรับน้ำหนักบรรทุกได้เนื่องมาจากใช้ระยะเวลาการขุดเจาะสาเข็มนานถึง 100 ชั่วโมงและใช้สารละลายเบนโทไนท์เข้มข้นถึง 4-5% ในการขุดเจาะเสาเข็มเป็นผลทำให้ สารละลายเบนโทไนท์ซึมผ่านชั้นทรายจนเกิดเป็น Film cake หนาทำให้เสาเข็มเจาะสูญเสียกำลังรับน้ำหนักด้านข้างอย่างมาก เสาเข็มเจาะทดสอบต้นที่2 (TP2) ได้มีการลดเวลาการขุดเจาะเสาเข็มลงเหลือ 70 ชั่วโมงและเปลี่ยนสารละลายเป็น เบนโทไนท์ 3-5% ผสมโพลีเมอร์ 0.08% แต่ก็ยังไม่ส่งผลดีขึ้น เนื่องจากผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการพบว่า Film cake สามารถสร้างตัวได้หนาโดยใช้เวลาเพียง 24 ชั่วโมงและโพลีเมอร์ไม่สามารถซึมผ่าน Film cake ที่หนาเข้าไปในชั้นทรายได้ จึงได้มีการแก้ไขเสาเข็มเจาะ TP2 ด้วยวิธี Toe and skin grouting ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดีโดยพบว่าค่า beta-parameter มีแนวโน้มสูงมาก หลังจากการแก้ไขเสาเข็ม TP2 ประสบความสำเร็จ ได้ทำการก่อสร้างเสาเข็มเจาะทดสอบต้นที่3 (TP3) โดยทำการก่อสร้างด้วยเทคนิค Base and shaft grouting ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ดีทั้งในชั้นทรายและชั้นดินเหนียว โดยในชั้นทรายค่า beta-parameter มีแนวโน้มสูงกว่าผลการศึกษาที่ผ่านมาในประเทศไทย และค่า alpha-parameter มีค่าสูงกว่า 1 และสูงกว่าผลการศึกษาที่ผ่านมาในกรุงเทพมากทั้งนี้เนื่องมาจากมีการทำ Shaft grouting ดินเหนียวให้มีความแน่นขึ้น ในขณะที่เสาเข็มเจาะในกรุงเทพไม่ได้มีการทำ grouting ด้านข้างของเสาเข็มen
dc.description.abstractalternativeTo investigate the behavior of large bored piles of 2.6m in diameter and 80m depth of the Rupsa Bridge, Bangladesh. Three case study of large bored piles which induced exessive settlement and show less capacity than the designed load of 22000KN were investigated. In addition, a method of rehabilitation of those failed tested bore piles was also investigated to reuse the failed pile based on pile load test data of and laboratory experiments. In the Rupsa bridge project,three tested piles were carried out. The first tested bored pile (TP1) show the exessive settlement at the designed load due to a long period about 100 hours of pile boring with bentonite slurry of 4-5% intensity. This long boring period with high intensity of bentonite slurry,a thick layer of cake film was induced on the cohesionless soil pile surface. This caused a significant reduction of load capacity. In boring process of the second tested bored pile (TP2), although the boring period and the intensity of bentonite slurry were reduced to 70 hours and 3-5% with mixed polymer of 0.08%, respectively, the capacity of the pile was not improved. This is because thick cake film can be induced based on laboratory experiment within 24 hours and the polymer can not penetrated into this thick cake film. By this reason, the boring process of TP2 bored pile was later improved or remedial successfully by using toe and skin grouting technique with result in high beta-parameter. The TP3 tested bored pile was then constructed with pre-installed base and shaft grouting technique successfully in both sand and clay layers. In sand, beta-parameter was higher than the test pile in Bangkok, and alpha-parameter was also higher than 1.0 due to shaft grouting effect causing compaction of clay layer while the shaft grouting was not applied in bored pile in Bangkok.en
dc.format.extent3084159 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1674-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเสาเข็มen
dc.subjectสะพานรุพซา (บังกลาเทศ)en
dc.titleพฤติกรรมเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่โครงการก่อสร้างสะพานรุพซาประเทศบังกลาเทศen
dc.title.alternativeBehavior of large border pile : case of Rupsa Bridge, Bangladeshen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcewtp@eng.chula.ac.th, Wanchai.Te@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1674-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mana_Ua.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.