Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13983
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorอิทธินาถ จุฬาพรหมเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-11-27T04:01:01Z-
dc.date.available2010-11-27T04:01:01Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741735669-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13983-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractปรับปรุงระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่องทั่วทั้งองค์กร พร้อมทั้งเกิดการพัฒนาดัชนีวัดสมรรถนะหลักขององค์กร เพื่อให้เกิดการนำดัชนีวัดสมรรถนะหลักไปใช้ในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยนำมาศึกษากับอุตสาหกรรมแปรรูปและประกอบชิ้นส่วนจากโลหะ ในการพัฒนาดัชนีวัดสมรรถนะหลักนั้นได้อ้างอิงจากข้อกำหนด ISO 9001:2000 ตั้งแต่ข้อ 4 ถึง 8 จากนั้นมาคัดเลือกดัชนีวัดต่างๆ จากดัชนีทั้งหมด 69 ข้อให้เหลือเพียงดัชนีที่มีความสำคัญเพียง 26 ข้อ โดยผ่านการกลั่นกรองจากหลักการ 4 มุมมองของ Balanced Scorecard และผลการประเมินตัวชี้วัดจากคณะกรรมการในที่ประชุม จนเหลือตัวชี้วัดที่สำคัญที่สุดทั้งหมด 11 ข้อ และได้คัดเลือกตัวชี้วัดที่ควรจะปรับปรุงมากที่สุด คือ อัตราส่วนการใช้ได้ของเครื่องจักร จากนั้นมาปรับปรุงระบบและกระบวนการในหน่วยงานซ่อมบำรุง แล้วประเมินผลย้อนกลับพร้อมทั้งเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการปรับปรุง คือ 1. อัตราเครื่องจักรเสีย ก่อนการปรับปรุงอยู่ช่วงประมาณ 8% ต่อเดือน จากจำนวนเครื่องจักรทั้งหมดที่อยู่ในแผนก และหลังการปรับปรุง อัตราเครื่องจักรเสีย จะอยู่ช่วงประมาณ 6.5% ต่อเดือน จากจำนวนเครื่องจักรทั้งหมดที่อยู่ในแผนก 2. ต้นทุนของงานซ่อมบำรุง ก่อนการปรับปรุงมีสัดส่วนโดยประมาณ 4-5% จากต้นทุนการผลิตทั้งหมด และหลังการปรับปรุงต้นทุนของงานซ่อมบำรุง จะมีสัดส่วนโดยประมาณ 2.2% จากต้นทุนการผลิตทั้งหมด การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ KPI นั้น ควรมีการทบทวนและติดตามทุกๆปีตามวิธีการของกระบวนการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องที่ได้เสนอไว้ใน QP-CI-01en
dc.description.abstractalternativeTo develop Key Performance Indicators with organization of continuous improvement quality system for a steel fabrication and assembly factory. The Key Performance Indicators are reference to ISO 9001:2000 requirement. 26 important indicators any of 69 indicators by means 4 Area of Balanced Scorecard which are accepted by president, vice-president and QMR. The best important indicator is machine utilize Ratio. This is responsible for Maintenance section. So maintenance sections were improved system or method and evaluate feedback results for comparing between before and after improvement 1. Ratio of nonutilize 1.1 First result : ratio of nonutilize machine 8% per month of total machine 1.2 After result : ratio of nonutilize machine 6.5% per month of total machine 2. Cost of maintenance 2.1 First result : cost of maintenance 4-5% per month of total cost 2.2 After result : cost of maintenance 2.2% per month of total cost Continuous Improvement by KPI aboved be annually reviewed and auditored along as proposed CI procedure : QP-CI-01.en
dc.format.extent6544364 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไอเอสโอ 9000en
dc.subjectการวัดผลงานen
dc.subjectประสิทธิผลองค์การen
dc.subjectมาตรฐานการทำงานen
dc.subjectโรงงาน -- การควบคุมคุณภาพen
dc.titleการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องขององค์กรโดยใช้ดัชนีวัดสมรรถนะหลักของระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 : กรณีศึกษาของโรงงานแปรรูปและประกอบชิ้นส่วนจากโลหะen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDamrong.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aitinart_Ch.pdf6.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.