Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทย์ สุนทรนันท์-
dc.contributor.authorวรินทร์ บุญแม้น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-12-17T08:09:14Z-
dc.date.available2010-12-17T08:09:14Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14161-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractศึกษาผลของขนาดใบกวนที่มีผลต่อการแขวนลอยของอนุภาคของแข็งในของเหลว โดยใช้ถังผสมทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.3 เมตร สูง 0.5 เมตร ซึ่งติดแผ่นกั้น 4 อัน และปรับเปลี่ยนใบกวน 3 ขนาด คือ อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางใบกวนต่อเส้นผ่านศูนย์กลางถังเท่ากับ 0.33, 0.50 และ 0.67 ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่าเมื่อใบกวนมีขนาดใหญ่ขึ้น จะส่งผลให้การกระจายตัวของอนุภาคที่แขวนลอยมีความสม่ำเสมอมากขึ้น แต่มิได้หมายความว่าสัดส่วนของอนุภาคที่แขวนลอยต่ออนุภาคทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นตาม ทั้งนี้เป็นผลจากการเกิด dead zone บริเวณก้นถัง นอกจากนี้ยังได้ศึกษาเพิ่มเติมถึงอิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ประกอบด้วย ความสูงของใบกวนจากก้นถัง (อัตราส่วนระหว่างความสูงของใบกวนจากก้นถังต่อเส้นผ่านศูนย์กลางถังเท่ากับ 0.17, 0.25 และ 0.33) ความเร็วรอบ (100, 150, 200 และ 250 รอบต่อนาที) ความเข้มข้นของอนุภาค ( 2.5%, 5%, 7.5% โดยน้ำหนักต่อปริมาตร) และขนาดของอนุภาค (75-150 และ 180-300 ไมครอน) ซึ่งบ่งชี้ถึงความสำคัญของการสูญเสียพลังงานในของไหลจาก Secondary flow อัตราการจ่ายพลังงานของใบกวน โอกาสของอนุภาคที่จมอยู่ที่ก้นถังที่จะได้รับการถ่ายเทโมเมนตัมจากการไหลและเกิดการแขวนลอย และอัตราส่วนระหว่างแรงกระทำจากของไหลต่อแรงโน้มถ่วง ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe effect of propeller size on particulate suspension was investigated using a baffled mixing tank of 0.3 m diameter and 0.5 m height. Three propeller sizes corresponding to the ratios between propeller diameter and tank diameter of 0.33, 0.50, and 0.67 were used. It was found that an increase of propeller diameter enhanced the uniformity of suspension, but not the fraction of solid suspension due to an occurrence of dead zone at the bottom of the tank. In addition, the investigations were further conducted by varying the vertical position of propeller (corresponding to the ratios of propeller height to tank diameter of 0.17, 0.25, and 0.33), agitation speed (100, 150, 200, and 250 rpm), solid concentration (2.5%, 5%, and 7.5% w/v), and particle size (75-150 µm and 180-300 µm). The results indicated the importance of energy dissipated due to secondary flow, rate of energy supplied by propeller, potential for sediments in gaining momentum from fluid and being suspended, and relativity between drag force and gravity.en
dc.format.extent1197443 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1876-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการผสมen
dc.subjectใบกวนen
dc.subjectสารแขวนลอยen
dc.titleผลของขนาดใบกวนต่อการแขวนลอยของอนุภาคen
dc.title.alternativeEffect of propeller size on particulate suspensionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwit.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1876-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warin_bo.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.