Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสามารถ เจียสกุล-
dc.contributor.authorใสศรี บุญรอดพานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2010-12-20T09:47:29Z-
dc.date.available2010-12-20T09:47:29Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14229-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractศึกษาการพัฒนาการของการให้บริการรถตู้โดยสารประจำทาง ความเกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย การจัดระเบียบรถตู้ การบริหารการจัดการของภาครัฐ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการให้การบริการรถตู้ ทั้งที่ถูกกฎหมายและไม่ถูกกฎหมาย ซึ่งหมายถึงรถตู้เถื่อน รวมถึงการจ่ายเงินนอกระบบที่เกิดจากค่าร่วมวิ่งเส้นทาง ค่าใช้จ่ายส่วนเกิน ค่าตอบแทนระบบวินรถตู้เถื่อน และความเกี่ยวข้องต่างๆ กับการจ่ายเงินนอกระบบให้กับหน่วยงานราชการ โดยกำหนดของเขตการศึกษา เฉพาะการบริการรถตู้โดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ พ.ศ. 2538-2549 โดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ อาศัยแหล่งข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ เอกสารราชการ บทสัมภาษณ์ ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า การให้บริการรถตู้โดยสารสาธารณะมีความจำเป็น และกลายเป็นส่วนหนึ่งที่ตอบสนองความต้องการประชาชนในระบบขนส่งมวลชนเป็นอย่างยิ่ง การบริหารการจัดการของระบบราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประสิทธิภาพ คุณภาพในการให้บริการยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ แม้ว่าประชาชนจะมีทางเลือกในการใช้บริการโดยสารสาธารณะมากขึ้น รวดเร็วขึ้น แต่ประสิทธิภาพของรถและความปลอดภัยในด้านการประกันอุบัติเหตุ ยังขาดการบริหารการจัดการที่ดี ต้นทุนในการบริหารการจัดการสูงมาก เนื่องจากการจ่ายเงินนอกระบบ เช่น ค่าร่วมวิ่งในเส้นทาง ค่าแป๊ะเจี๊ย ค่าตอบแทนหัวหน้าวิน ค่าใช้จ่ายในการวิ่งเต้น และกิจกรรมทางสังคมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงทำให้ผู้ให้บริการรถตู้ไม่สามารถปรับปรุงคุณภาพรถ และความปลอดภัยให้กับผู้ใช้บริการคือประชาชน ด้านการดำเนินการของหน่วยงานที่นำนโยบายการจัดระเบียบรถตู้โดยสารประจำทางไปปฏิบัติ ของกรมการขนส่งทางบก และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ควรมีการทบทวนบทบาท และภารกิจของหน่วยงานของตนเอง โดยให้กรมการขนส่งทางบกดำเนินการตรวจจับและมีการปราบปรามอย่างจริงจัง ควบคู่ไปกับการดำเนินนโยบายจัดระเบียบรถตู้โดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไปด้วย และควรจะมีการกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนในการปิดรับรถตู้ผิดกฎหมายมาเข้าร่วมเดินรถ กับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ระยะเวลาการนำรถมาดำเนินการทางทะเบียนและเสียภาษีรถ เพื่อป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์จากกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ตลอดจนเพื่อให้สามารถควบคุมการจัดการเดินรถตู้ผิดกฎหมาย ให้ได้ผลอย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งควรสนับสนุนและส่งเสริมให้การปรับปรุงระบบวิธีการทำงานให้มีบุคลากรจำนวนจำกัด รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคนิควิธีการบริหารการจัดการแบบใหม่ นำแนวคิดในการสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรการเรียนรู้ (Learning Organization) มาพัฒนาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดen
dc.description.abstractalternativeTo study the development of the van service provision, involvement with policy making, regulation and public and private management of such service, both legally or illegally in which the latter would mean illegal operation of van service. This study also generally touches upon the issue of informal financial transactions whether in forms of bribes expended for the access to provide service on the routes utilized by public and legal vans, extra costs and returns from running such systematic operation and related informal expenditures toward relevant bureaucratic entities. The scope of this study is restricted to the van service provision in Bangkok from 1995-2006 while the methodology is qualitative in its approach and employs historical data, government documents and interviews with concerned parties such as the service providers, customers and relevant public organizations. The study finds that the service provision of public vans positively responds to the urgent demand of Bangkok population in place of inefficient public transport system. However, public and private management, efficiency and quality of the service have not achieved what its policy objective initially set out. Even though Bangkok population does have an increase in volume and velocity in this public transport alternative scheme, the efficiency and accidental safety of such service still needs a better management. At the same time, the operation costs are high due to informal expenditures such as the payment for running an operation on routes utilized by legal public vans, entrance depository, station rent, bribes and donations for social activities of related public organizations/departments, all of which contribute to an inability of the service providers to improve the quality of their vans as well as safety for customers, or population of Bangkok. Regarding the proceeding of departments that implement and enforce regulation policy, there should be a re¬evaluation of their roles and responsibilities, especially Department of Land Transport (DLT) and Bangkok Mass Transit Authority (BMTA). For policy recommendation, DLT should seriously proceed with detection and legal enforcement while implementing regulation policy in Bangkok and its vicinity. The van registration period for illegal vans, which BMTA is responsible, should be clarified, in addition to other registration and tax procedures, in order to prevent rent-seeking from interest groups and effectively control illegal van operation. Furthermore, efficiency in the operation, with limited staff but higher speed and quality, should be encouraged and promoted according to new management schemes on learning organization, which will help develop related organizations.en
dc.format.extent2763856 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.146-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถตู้โดยสารen
dc.subjectนโยบายสาธารณะen
dc.subjectการนำนโยบายไปปฏิบัติen
dc.subjectค่าเช่าen
dc.subjectเศรษฐศาสตร์การเมืองen
dc.titleเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยธุรกิจรถตู้ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeThe political economy of van bus business in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSamart.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.146-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saisri_Bo.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.