Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14241
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรีช์ โพธิแก้ว-
dc.contributor.authorธารีวรรณ เทียมเมฆ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2010-12-25T11:57:10Z-
dc.date.available2010-12-25T11:57:10Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14241-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractศึกษาผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธ ที่มีต่อความสันโดษของนักศึกษามหาวิทยาลัย มีรูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมและวัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จำนวน 32 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มๆ ละ 8 คน และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่มๆ ละ 8 คน โดยกลุ่มทดลองเข้ากลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธเป็นเวลาประมาณ 20 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 7 ช่วง ก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างได้รับการประเมินโดยแบบวัดภาวะสันโดษที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลทำโดยการทดสอบความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมจากกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่ม และกลุ่มควบคุมทั้งสองกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) ภายหลังการทดลอง นักศึกษาที่เข้ากลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธ มีคะแนนภาวะสันโดษสูงกว่าก่อนเข้ากลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2) ภายหลังการทดลอง นักศึกษาที่เข้ากลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธ มีคะแนนภาวะสันโดษสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo examine the effect of Buddhist personal growth and counseling group on Santutthi of university students. Its design was a quasi-experimental pretest-posttest control group research design. The participants, 32 freshmen students of Rajabhat Moobanchombueng University, selected by purposive sampling, were randomly assigned to the two experimental groups, each with 8 persons and the two control groups, each with 8 persons. The experimental groups participated in the Buddhist personal growth and counseling group for 7 sessions, established by the researcher, approximately 20 hours in total. The instrument used was the Santutthi scale. The t-test was used to test the significant difference of the total score from the two experimental groups and the two control groups. The results were as follows 1. The posttest score on the Santutthi scale of the two experimental groups were higher than the pretest score. 2. The posttest score on the Santutthi Scale of the experimental groups were higher than the posttest score of the two control groups.en
dc.format.extent1576754 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1948-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสัจจการแห่งตนen
dc.subjectสันโดษen
dc.subjectการให้คำปรึกษาแนวพุทธen
dc.titleผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธที่มีต่อความสันโดษของนักศึกษามหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeThe Effects of Buddhist personal growth and counseling group on santutthi of university studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPsoree@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1948-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thareewan_th.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.