Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14264
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เศรษฐา ปานงาม | - |
dc.contributor.advisor | ครรชิต ผิวนวล | - |
dc.contributor.author | สุวิทย์ ภูมิฤทธิกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-12-26T06:29:43Z | - |
dc.date.available | 2010-12-26T06:29:43Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14264 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | ปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์จีพีเอสอย่างแพร่หลาย ซึ่งนอกเหนือจากประโยชน์ของระบบการนำทางข้อมูลจีพีเอส ยังสามารถให้ข้อมูลทางด้านเวลาในการเดินทางและความเร็วของการเดินทาง แต่การนำข้อมูลจีพีเอสของรถยนต์ทั่วไปมาใช้ยังมีปัญหาในเรื่องสิทธิส่วนบุคคล ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเสนอการสังเคราะห์ความเร็วเฉลี่ยโดยใช้ข้อมูลจีพีเอสที่ปราศจากหมายเลขประจำเครื่อง และรายงานสภาพการจราจรผ่านระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเร็วเบื้องต้นของงานวิจัยว่า การจราจรในเมืองมีค่าความแปรปรวนสูงมาก จึงทำให้การประมาณค่าความเร็วของการเดินทางเฉลี่ยจากจีพีเอสขาดความแม่นยำ จึงเสนอสมมุติฐานในการลดค่าความแปรปรวนของจราจรลง โดยมีการทดสอบวิเคราะห์โดยอาศัยความสัมพันธ์ของความเร็วของการเดินทางเฉลี่ย (MTS) ความเร็วเฉพาะจุดเฉลี่ย (TMS) และค่าการประมาณความเร็วเฉลี่ยจากระยะทาง (eSMS) โดยทดสอบบนข้อมูลจีพีเอสสองชุด คือข้อมูลของรถแท็กซี่ 1681 และข้อมูลที่เก็บเอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลรถแท็กซี่ 1681 พบว่าเพราะความถี่ในการส่งข้องมูลของแท็กซี่ไม่เพียงพอต่อความแม่นยำในการประมาณค่า โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเร็วตามข้างต้น ดังนั้นจึงวิเคราะห์กับข้อมูลชุดที่เก็บเองด้วยรถจำนวน 5 คัน โดยความถี่ในการส่งข้อมูลทุกวินาที พบว่าความสัมพันธ์ของความเร็ว TMS และ MTS สามารถใช้ประมาณค่าแทนกันได้ โดยลดความแปรปรวนด้วยการแบ่งช่วงถนนแบบคงที่ในการคำนวณ ซึ่งผลที่ดีที่สุดคือการแบ่งช่วงถนนทุกๆ 50 เมตรของช่วงถนนและใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลเพื่อประมวลผลทุก 5 นาที โดยการประมาณค่ารวมทั้งช่วงถนนจะใช้การเปลี่ยนแปลงความเร็วของการเดินทางเฉลี่ยทุกๆ 50 เมตรเป็นเวลาในการเดินทางและรวมเวลาการเดินทางเพื่อรายงานความเร็วและเวลาในการเดินทางต่อไป และงานวิจัยยังพบว่าการเปลี่ยนแปลงของความเร็วแต่ละช่วงถนนที่สามารถแบ่งสามารถบ่งบอกการเกิดเหตุการณ์ได้ งานวิจัยนี้จึงพัฒนาต้นแบบระบบการรายงานสภาพการจราจร สามารถรายงานข้อมูลเวลาในการเดินทางและระดับของสภาพการจราจรผ่านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยรายงานเหตุการณ์ได้ | en |
dc.description.abstractalternative | Due to the expansive use of GPS, GPS data can be used to provide valuable travel time and the travel speed data for the traffic information system. However, to track personal cars for such information would have privacy problems. Thus, the mean travel speed (MTS), which requires individual vehicle tracking, cannot be calculated directly. In this research, we try to estimate the MTS of the road by using GPS data without ID number. The estimation is done by considering the relationship between MTS and time mean speed (TMS), and experiment with relation between MTS and estimated space mean speed (eSMS). Both studies were done on the 1681 Taxi GPS data and our own collected data. On account of high variance and low transfer frequency of Taxi data, the results show that the MTS cannot be estimated from other speed accurately. Therefore, we continue to test with our data. In addition, vehicle speed has high variance on inner city roads. Therefore, we proposed grouping methods of spot speed data on individual road segments, which are called segmentation, to reduce the traffic variance and analyze the collected for MTS estimation. The results show that correlation between TMS and MTS is 0.94 and the relationship graphs between TMS and MTS have a linear trend line. Hence, TMS and MTS are highly correlated. In summary, MTS estimation can be improved and developed into the model or equation if TMS is calculated under short segment (50 m), low traffic variance data, and under a suitable time period (5 minutes). Moreover, the variable of MTS of each segment can detect a traffic incident. Finally the researchers implemented an MTS synthesis system prototype for road traffic level reporting on GIS. | en |
dc.format.extent | 2143348 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.944 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก | en |
dc.subject | ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ | en |
dc.subject | จราจร | en |
dc.subject | ความเร็วทางการจราจร | en |
dc.title | ต้นแบบระบบการสังเคราะห์ความเร็วเฉลี่ยของการจราจรบนถนนโดยใช้ข้อมูลจีพีเอส | en |
dc.title.alternative | A Road traffic mean travel speed synthesis system prototype using GPS data | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | setha@cp.eng.chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.944 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suvit_po.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.