Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14350
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงสมร สุวัฑฒน-
dc.contributor.authorวันวิสาข์ แย้มมีกลิ่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-04T12:06:04Z-
dc.date.available2011-01-04T12:06:04Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14350-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินประสิทธิภาพของเครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์ในการหาความสัมพันธ์พ่อ แม่ ลูก จากตัวอย่างดีเอ็นเอของสุกรจำนวน 80 ตัวอย่าง โดยใช้เครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์จำนวน 16 ตำแหน่ง ได้แก่ D00768, KVL9000, NLRIP0001, S0663, S0710, S0719, S0766, SJ859, SJ923, SJ924, SJ925, SJ926, SJ927, SJ929, X53085 และ X63893 ทำการเพิ่มจำนวนชิ้นส่วนดีเอ็นเอด้วยวิธี polymerase chain reaction (PCR) จากนั้นวิเคราะห์ผลผลิต PCR ด้วยวิธี agarose และ polyacrylamide gel electrophoresis (PAGE) ผลการศึกษาพบว่า สามารถเพิ่มจำนวนชิ้นส่วน ดีเอ็นเอได้จำนวน 15 ตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่ง SJ925 ทำการคัดเลือกเครื่องหมายพันธุกรรมไม โครแซทเทลไลท์ที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้ได้ทั้งสิ้นจำนวน 7 ตำแหน่ง ได้แก่ S0663, D00768, KVL9000, S0719, NLRIP0001, S0766 และ S0710 ซึ่งตรวจพบจำนวนอัลลีลอยู่ระหว่าง 4 - 8 อัลลีล นอกจากนี้จากการคำนวณค่า observed และ expected heterozygosity พบว่ามีค่า 0.3250-1.0000 และ 0.5456-0.8302 ตามลำดับ ค่า polymorphic information content (PIC) มีค่า 0.5179-0.8106 และ ค่าความแม่นยำในการวิเคราะห์ผลเมื่อนำเครื่องหมายไปใช้งานร่วมกัน (combined exclusion probability; CEP) มีค่าเท่ากับ 99.46 เปอร์เซ็นต์ ในการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์ทั้ง 7 ตำแหน่ง มีประสิทธิภาพในการใช้งานสูง และสามารถใช้เป็นเครื่องมือสำหรับตรวจสอบความสัมพันธ์พ่อ แม่ ลูกของสุกรในประเทศไทยได้ดีen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to evaluate the efficacy of microsatellite markers in parentage control in swine. Genomic DNA from 80 swine samples were extracted by using 16 microsatellite markers (D00768, KVL9000, NLRIP0001, S0663, S0710, S0719, S0766, SJ859, SJ923, SJ924, SJ925, SJ926, SJ927, SJ929, X53085 and X63893) in each single polymerase chain reaction (PCR). The PCR products were analyzed using agarose and polyacrylamide gel electrophoresis (PAGE). The result showed that 15 microsatellite markers could be amplified except SJ925. Seven suitable microsatellite markers were selected for parentage control, followed as S0663, D00768, KVL9000, S0719, NLRIP0001, S0766 and S0710. Allelic numbers of the microsatellite markers varied from 4 to 8. The observed and expected heterozygosities were 0.3250-1.0000 and 0.5456-0.8302 respectively. The polymorphic information content (PIC) was 0.5179-0.8106 and the combined exclusion probability (CEP) was 99.46 %. The results demonstrated that the efficacy of 7 microsatellite loci was high and they can be used as a powerful tool for parentage control in swine in Thailand.en
dc.format.extent2123193 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.536-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุกรen
dc.subjectเครื่องหมายพันธุกรรมen
dc.subjectพันธุกรรมen
dc.subjectไมโครแซทเทลไลท์ (พันธุศาสตร์)en
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพของเครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์ในการหาความสัมพันธ์พ่อแม่ลูกในสุกรen
dc.title.alternativeEvaluation of the effecacy of microsatellite markers in parentage control in swineen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปรับปรุงพันธุ์สัตว์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsduangsm@chula.ac.th, Duangsmorn.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.536-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanwisa_ya.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.