Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14482
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงค์กิจ-
dc.contributor.authorทวีศักดิ์ ชื่นพิทยาวุฒิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-17T07:48:47Z-
dc.date.available2011-01-17T07:48:47Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14482-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง “การเปรียบเทียบประสิทธิผลระหว่างการโฆษณา และบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์” ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ การศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิผลระหว่างการโฆษณา และบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์” ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของการโฆษณา และบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีผลต่อการรู้จักตราสินค้า และ 2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของการโฆษณา และบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในด้านความเข้าใจเนื้อหา ความชอบ ความน่าเชื่อถือ และความตั้งใจซื้อโดยงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) ผู้เข้าร่วมการศึกษาเชิงทดลองในครั้งนี้ คือ นิสิตระดับปริญญาตรีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างช่วงภาคการศึกษาที่หนึ่ง ปีการศึกษา 2551 จำนวน 160 คน ในช่วงเดือนกันยายน 2551 ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิผลของการโฆษณาและบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์มีผลต่อ การรู้จักตราสินค้าไม่แตกต่างกัน ส่วนประสิทธิผลของการโฆษณา และบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์มีผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในด้านความเข้าใจเนื้อหา ความน่าเชื่อถือ และความตั้งใจซื้อแตกต่างกัน แต่ด้านความรู้สึกไม่แตกต่างกัน โดยในด้านความน่าเชื่อถือค่าเฉลี่ยของบทความเชิงโฆษณาของทุกประเภทสินค้า คือ น้ำส้มคั้นพร้อมดื่ม เจลล้างหน้า โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คมีค่าเฉลี่ยมากกว่าชิ้นงานโฆษณาเมื่อเปรียบเทียบระหว่างตราสินค้าในประเภทสินค้าเดียวกันen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the current research were to: 1) compare the effects of print advertising and advertorial on brand awareness and 2) compare the effects of print advertising and advertorial on consumer behaviors which are content, feeling, credibility, and buying intention in 4 products. The experiment was conducted with 160 Chulalongkorn University’s undergraduate students during September 2008.The findings showed that the effects of print advertising and advertorial on brand awareness are not different and the effects of print advertising and advertorial on consumer behaviors in content, credibility, and buying intention part are not different, but feeling part is different. However, the mean of credibility advertorial in every product- orange juice, cleansing gel, mobile phone, and laptop are more than the mean of credibility print advertising when comparing with the same brand.en
dc.format.extent3567973 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1204-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโฆษณาen
dc.subjectโฆษณาทางวารสารen
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดen
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิผลระหว่างการโฆษณา และบทความเชิงโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์en
dc.title.alternativeThe comparison of effectiveness between print advertising and advertorialen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1204-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thaveesak_ch.pdf3.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.