Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.advisorปานใจ ธารทัศนวงศ์-
dc.contributor.authorพิชยา พรมาลี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-01-18T04:17:32Z-
dc.date.available2011-01-18T04:17:32Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14497-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractพัฒนา 1) รูปแบบโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ 2) รูปแบบกระบวนการเรียนการสอนด้วยโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีวิธีการดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน 1) การพัฒนารูปแบบโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนการสอน ด้วยโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้ฯ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในสถาบันอุดมศึกษา 2) กลุ่มผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเรียนการสอนและวัดประเมินผล 5) นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 และผู้สอนโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปีการศึกษา 2549 และ 6) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิด้านนโยบายและบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1)รูปแบบโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1 ) โครงสร้างพื้นฐาน ICT 2) แหล่งสาระการเรียนรู้ 4) การจัดการและบริการการเรียน และ 5) การติดตามประเมินผล 2) รูปแบบกระบวนการเรียนการสอนด้วยโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีองค์ประกอบที่สำคัญ 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การเตรียมกระบวนการเรียนการสอน 2) การแนะนำการเรียนเชิงประสบการณ์ 3) การเรียนเชิงประสบการณ์ 4) การนำเสนอผลงานและการให้ผลป้อนกลับ 5) การสรุปรวบยอดความคิดและเชื่อมโยงประสบการณ์ และ 6) การประเมินการเรียนและการสอน 3) ผลการทดสอบภาคสนามรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนด้วยโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้ฯ ผลการประเมินผลกระบวนการเรียนรู้อยู่ในระดับดี และจากความคิดเห็นของผู้เรียนและผู้สอนพบว่า รูปแบบกระบวนการเรียนการสอนด้วยโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้ฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 4) ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ และรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนด้วยโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้ฯ ผู้ทรงคุณวุฒิให้การรับรองว่าสามารถนำไปใช้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏได้en
dc.description.abstractalternativeTo develop 1) a grid for an experiential learning model using Information and Communication Technology (ICT) of Rajabhat Universities 2) a teaching and learning model of ICT-based experiential learning grid of Rajabhat Universities. The study was planed into 2 stages 1) development of a grid for an experiential learning model using ICT of Rajabhat Universities 2) development of a teaching and learning model of ICT-based experiential learning grid of Rajabhat Universities. The samples were 1) a group of experts in ICT management and administration in higher education 2) a group of executive administrators from Rajabhat Universities 3) a group of experts in ICT management and administration from Rajabhat Universities 4) a group of experts in learning and assessment 5) the fourth year students and the instructor in the Food Plant Sanitation, class of 2006, Faculty of Science and Technology, Suan Dusit Rajabhat University and, 6) a group of experts in ICT policy and administration. The research findings were: 1.Model of a grid for an experiential learning using ICT of Rajabhat Universities consisted of five components : 1) ICT Infrastructure 2)Learning Resources 3) Learning Grid 4) Managed and Services and, 5) Grid Watch. 2. The teaching and learning process model of ICT-based experiential learning grid of Rajabhat Universities was 1) Preparation of teaching and learning process 2) Introductory of experiential learning 3)Experiential learning process 4) Presentation and feedback 5) Conceptualization and transferring and, 6) Teaching and learning assessment. 3. The results of the field test model of ICT-based experiential learning grid of Rajabhat Universities in learning process was good; and the opinions of students and instructor were in a very appropriate level. 4. The assessment results of the grid for learning model for experiential learning using ICT of Rajabhat Universities, and the learning process model of ICT-based experiential learning grid of Rajabhat Universities; all experts had assured that the model was applicability for Rajabhat Universities.en
dc.format.extent3939814 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.598-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้แบบประสบการณ์en
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏen
dc.subjectอินเตอร์เน็ตในการศึกษาen
dc.subjectการเรียนรู้ -- เครือข่ายคอมพิวเตอร์en
dc.titleการพัฒนารูปแบบโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏen
dc.title.alternativeDevelopment of a grid for an experriential learning model using information and communication technology of Rajabhat Universitiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorpanjai@su.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.598-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pichaya.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.