Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14545
Title: | การปรับปรุงและพัฒนาอัลกอริทึมการอนุมานไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบท |
Other Titles: | Improving and developing context free grammar inference algorithm |
Authors: | วุฒิ สุนทรภัณฑ์ |
Advisors: | อรรถสิทธิ์ สุรฤกษ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | athasit@cp.eng.chula.ac.th |
Subjects: | อัลกอริทึม การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (คอมพิวเตอร์) |
Issue Date: | 2549 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การอนุมานไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบท เป็นส่วนสำคัญในการวิเคราะห์แก้ปัญหาการรู้จำ รูปแบบ และงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการประมวลผลภาษาธรรมชาติได้เน้นไปที่วิธีการพัฒนาการอนุมาน ซึ่งปัญหาหลักของการอนุมานไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบท คือ ใช้ค่าความซับซ้อนเชิงเวลาของการอนุมานไวยากรณ์ที่สูง ซึ่งมีผลงานวิจัยทางทฤษฏีระบุว่าไม่สามารถหาอัลกอริทึมอนุมานไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบทที่ใช้ความซับซ้อนเชิงเวลาไม่เกินฟังก์ชั่นพหุนามได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้ได้นำเสนออัลกอริทึมการอนุมานไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบทสำหรับบางภาษาไม่พึ่งบริบทรวมทั้งภาษาสม่ำเสมอ ที่มีความซับซ้อนเชิงเวลาไม่เกินฟังก์ชั่นพหุนาม ซึ่งหลักการทำงานของอัลกอริทึมจะพิจารณาสร้างกฎวนซ้ำจากข้อมูลตัวอย่างที่อยู่ในภาษาเรียกว่า ข้อมูลตัวอย่างบวก และเพื่อไม่ให้ไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบทมีความกว้างมากเกินไป งานวิจัยนี้ได้นำข้อมูลตัวอย่างที่ไม่อยู่ในภาษาเรียกว่าตัวอย่างลบมาร่วมพิจารณาด้วย |
Other Abstract: | Context-free grammar inference plays an important role in pattern recognition. Many researches in natural language processing are focused on how to improve an inference technique. In fact, the major problem is that it requires a high degree of computational complexity. Some theoretical results stated that the problem cannot be solved by any polynomial time algorithms. This research is aimed to introduce an inference algorithm for some context free languages including regular languages. The proposed algorithm needs a polynomial time complexity. Our concept is to create some recursive rules using positive samples. In order to avoid an overgeneralization problem, some negative samples are considered in the training process. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14545 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1089 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2006.1089 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
wutthi.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.