Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorเพียงใจ นวนหนู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-02-23T02:05:51Z-
dc.date.available2011-02-23T02:05:51Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14676-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ความรู้โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติก กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติกอายุระหว่าง 7-12 ปี ที่เข้ารักษาที่คลินิกโรคไต แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 20 คน โดยจับคู่อายุและระยะเวลาที่เป็นโรคของเด็ก และระดับการศึกษาของบิดามารดาหรือผู้ดูแล กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการให้ความรู้โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่บ้านประเมินพฤติกรรมในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กก่อนและหลังการทดลองด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติก ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเที่ยงโดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .79 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติกภายหลังได้รับโปรแกรมการให้ความรู้โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่บ้านสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติก กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการให้ความรู้โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่บ้านสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยครั้งนี้สนับสนุนว่า โปรแกรมการให้ความรู้โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่บ้าน ช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติกมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effect of educational program emphasizing family participation at home on self-care behaviors of school-age children with nephrotic syndrome. The subjects were 40 nephrotic syndrome children 7-12 years old who were followed up at the pediatric renal clinic, out-patient department, Suratthani Hospital. They were equally assigned into 2 groups by matching of age, duration of having nephritic syndrome and educational level of their parents or caregivers. Control group received the usual nursing care and experimental group received the educational program emphasizing family participation at home. The questionnaire was tested for content validity and reliability which has Cronbach’s alpha value of .79. Data were analyzed using descriptive and t-test statistics. The major findings were as follows: 1. The mean score on self-care behavior of school-age children with nephrotic syndrome after receiving educational program emphasizing family participation at home was significantly higher than before at the 0.5 level. 2. The mean score on self-care behavior of school-age children with nephrotic syndrome in experimental group was significantly higher than control group at the 0.5 level. These findings support that educational program emphasizing family participation at home can enhance self-care practices in school-age children with nephrotic syndrome.en
dc.format.extent5581369 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.937-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกลุ่มอาการเนโฟรติคen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.titleผลของโปรแกรมการให้ความรู้โดยเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัวที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคกลุ่มอาการเนฟโฟรติกen
dc.title.alternativeThe effect of educational program emphasizing family participation at home on self-care behaviors of school-age children with nephrotic sydromeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPranom.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.937-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piangjai_Nu.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.