Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรมะ สตะเวทิน-
dc.contributor.authorรมณีย์ สงสำเภา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2011-02-26T05:21:19Z-
dc.date.available2011-02-26T05:21:19Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741434596-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14698-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติกับความต้องการการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศของบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยของรัฐในกรุงเทพมหานคร จำนวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม ประมวลผลโดยโปรแกรม SPSS และวิเคราะห์ข้อมูล โดยการทดสอบค่าที,การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระดับต่ำ มีความรู้ในเรื่องดังกล่าวต่ำ แต่มีทัศนคติที่ดี มีความต้องการการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศมาก 2. บุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีเพศ อายุ รายได้ ตำแหน่งทางการบริหารประสบการณ์ในการทำงานในมหาวิทยาลัยแตกต่างกันมีการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไม่แตกต่างกัน 3. บุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีตำแหน่งทางการบริหารและระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ แตกต่างกัน 4. บุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มี เพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา ตำแหน่งทางการบริหารและตำแหน่งทางวิชาการ แตกต่างกันมีทัศนคติต่อการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศแตกต่างกัน 5. การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความต้องการของบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 6. ความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติต่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 7. ความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับความต้องการของบุคลากรอาจารย์ในการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 8. ทัศนคติมีความสัมพันธ์เชิงบวกความต้องการของบุคลากรอาจารย์ ในการพัฒนาบุคลากรอาจารย์สู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to examine the correlation among media exposure, knowledge, attitude and desire for the development for increased competitive potential of state higher education teachers in Bangkok. The samples were 390 state higher education teachers in Bangkok. Questionnaires were used to collect the data. SPSS was employed for data processing. T-test, One-way ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were used for the analysis of the data. The findings of the research were as follows: 1.Generally, state higher education teachers were exposed to information on the development for increased competitive potential at the low level. They had low level of knowledge but had positive attitudes toward the subject. Their desire for the development for increased competitive potential was at the high level. 2. State higher education teachers different in sex, age, salary, administrative position and length of work were exposed to information on the development for increased competitive potential indifferently. 3. State higher education teachers different in administrative position and education level were different in the knowledge of the development for increased competitive potential. 4. State higher education teachers different in sex, age, salary, education level, administrative position and academic position were different in attitude toward the development for increased competitive potential. 5. Media exposure positively correlated with the desire for the development for increased competitive potential. 6. Knowledge of the development for increased competitive potential did not correlate with attitude. 7. Knowledge of the development for increased competitive potential did not correlate with the desire. 8. Attitude toward the development for increased competitive potential correlate with the desire.en
dc.format.extent17379370 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1413-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรen
dc.subjectอาจารย์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปิดรับข่าวสารจากสื่อกับการพัฒนาสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศของบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeMedia exposure and development for increased competitve potential of state higher education teachers in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorParama.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1413-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rommanee_So.pdf16.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.