Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร-
dc.contributor.authorบุญชู จิระเกษมนุกูร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2011-03-31T08:05:51Z-
dc.date.available2011-03-31T08:05:51Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743229285-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15009-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวางแผนการผลิตสำหรับโรงงานยาเม็ดในแต่ละครั้งต้องใช้เวลานาน ไม่ทันต่อการใช้งาน เนื่องจากกระบวนการผลิตยาเม็ดมีขั้นตอนการผลิตหลากหลายขั้นตอน และในแต่ละขั้นตอนก็จำเป็นต้องใช้เครื่องจักรร่วมกัน ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงพบว่าการวางแผนการผลิต จึงมีรูปแบบเป็นการจ่ายงานแบบวันต่อวัน การวิจัยพัฒนาวิธีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการวางแผนการผลิตสำหรับโรงงานยาเม็ด เป็นการนำทฤษฎีการจัดลำดับงานของแคมเบล-ดูเดค-สมิทธ์มาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการผลิต เพื่อลดเวลาที่ใช้ในการวางแผนการผลิตลง และได้จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้ติดตาม และตรวจสอบความคืบหน้าของการทำงาน ตลอดจนนำข้อมูลใหม่ ที่เกิดขึ้นในระหว่างดำเนินการผลิตมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแผนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้แผนการผลิตที่ใช้มีความสอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยโปรแกรมวางแผนการผลิต และระบบฐานข้อมูลที่ใช้พัฒนาขึ้น จะใช้งานร่วมกับโปรแกรม Microsoft ACCESS Version 2.0 และระบบปฏิบัติการ Windows 3.0 ขึ้นไป ผลจากการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการวางแผนการผลิตที่จัดทำขึ้นนี้ไปประยุกต์ใช้กับโรงงานตัวอย่าง พบว่าสามารถลดเวลาที่ใช้ในการวางแผนการผลิตลงได้ และโรงงานสามารถจัดเตรียมแผนการทำงานต่างๆได้ทันทีต่อการใช้งาน และยังใช้เป็นบรรทัดฐานในการควบคุมการผลิตอีกด้วย ซึ่งมีผลให้กำหนดเวลาการผลิตเสร็จจริงของงานแต่ละงานที่ดำเนินการผลิตใกล้เคียงกับกำหนดเวลาการผลิตเสร็จตามแผนที่กำหนดไว้en
dc.description.abstractalternativeEach time for production scheduling for tablet medical factory took very long time and could not meet production requirement because tablet medical processes consisted of many stages and each stage sometime had to apply the same machine. The production schedule was performed day to day. The computer software which was developed for tablet production scheduling was proposed. The scheduling technique was applied using a heuristic algorithm for the n job m machine sequencing problem developed by Cambell, Dudek and Smith. The software consisted of computer program and database. The program was used to perform the production schedule, while the database was used to update the production data which probably revised during the time. The software developed could run under Microsoft ACCESS program version 2.0 and Windows 3.0 operating system or above. The result after applying the computer software to an example tablet medical factory was found that the factory could remarkably decrease the time for doing the production scheduling plan, and also prepare the work activity plan used to control the production. Besides, the actual production finished date found was closed to the production plan.en
dc.format.extent12296792 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการวางผังโรงงานen
dc.subjectการวางแผนการผลิตen
dc.subjectยาเม็ดen
dc.titleการวางแผนแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสำหรับโรงงานยาเม็ดen
dc.title.alternativeComputer aided production scheduling for pill factoryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPuajindanetr.Pua@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonchu_Ji.pdf12.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.