Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว-
dc.contributor.authorวารุณี ณ นคร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-05-25T08:31:11Z-
dc.date.available2011-05-25T08:31:11Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15207-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาถึงเงื่อนไขที่ทำให้เกิดการรวมตัวระหว่างนักธุรกิจ กับชาวบ้านในชมรมรักษ์กะตะกะรน ซึ่งเป็นองค์กรประชาสังคมในระดับท้องถิ่น โดยมีสมมติฐานว่า การรวมตัวของนักธุรกิจกับชาวบ้านเป็นองค์กรประชาสังคมเกิดขึ้นและดำรงอยู่ ได้เนื่องจาก สมาชิกมีจิตสำนึกรักท้องถิ่น และต้องการมีอำนาจในการปกป้องท้องถิ่นของตน และสมาชิกในชมรมรักษ์กะตะกะรนต่างมีผลประโยชน์ ที่มีความเชื่อมโยงกัน การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ เน้นการศึกษาภาคสนามในตำบลกะรน อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต โดยใช้ระยะเวลาเก็บข้อมูล 6 เดือน ซึ่งใช้ข้อมูลแบบปฐมภูมิ ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม และบันทึกภาคสนาม เป็นเครื่องมือในการศึกษา ผลการศึกษา พบว่า เงื่อนไขที่ทำให้ชาวบ้านและนักธุรกิจซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้อง ถิ่นเข้ามารวมตัวกัน มี 5 ประการ คือ 1) สมาชิกในท้องถิ่นตระหนักถึงผลประโยชน์ที่มีความเชื่อมโยงกัน 2) ภาคธุรกิจเอกชนในท้องถิ่น มีความรับผิดชอบทางสังคม 3) คนในท้องถิ่นได้ใช้ต้นทุนทางสังคมที่มีอยู่เดิมและเสริมสร้างต้นทุนทางสังคม ขึ้น โดยเฉพาะการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน 4) สมาชิกมีจิตสำนึกรักท้องถิ่น และต้องการมีอำนาจในการปกป้องท้องถิ่นของตนและ5) ผู้บริหารท้องถิ่นตำบลกะรนมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการรวมตัวของคนในท้องถิ่น.en
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the conditions leading to joint organization between business and local groups for local civil society organization such as Rakkatakaron club. The study is based on the assumption that the organization of business and local people originated and maintained by the mutual sense of love for the community among the Club members, the need to take control of local situation, and shared interests. This qualitative research of the case study was carried out at Tambon Karon, Muang District, Phuket. Field research was done in 6 months period using primary data from in depth interview, observation and field notes. It is found that business and local groups are all stakeholders. Their joint organization of the Club are attributed to five major conditions. 1) members of the Club realized their shared interests; 2) business sector in the community subscribes to social responsibility principles; 3) existing and newly built social capital particularly that of interpersonal trust; 4) mutual sense of love for the community and the need to take control of local situation; and 5) the favorable characteristics of local administrators to local organizing groups.en
dc.format.extent2171321 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.194-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการปกครองท้องถิ่นen
dc.subjectชมรมรักษ์กะตะกะรนen
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนen
dc.subjectการจัดการธุรกิจชุมชนen
dc.titleองค์กรประชาสังคมในระดับท้องถิ่น : ศึกษากรณีชมรมรักษ์กะตะกะรนen
dc.title.alternativeLocal civil society organization : A case study of Rakkatakaron Cluben
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปกครองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChantana.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.194-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
warunee.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.