Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1545
Title: การแก้ไขความถี่ออฟเซตสำหรับระบบมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอบนช่องสัญญาณที่มีเฟดดิงแบบเลือกความถี่
Other Titles: Frequency offset correction for multicarrier CDMA systems over frequency selective fading channel
Authors: พฤกษา ตันทรงเจริญ, 2524-
Advisors: สมชาย จิตะพันธ์กล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Somchai.J@chula.ac.th
Subjects: ความถี่ออฟเซต
การประมวลสัญญาณ
การเข้าถึงรหัสแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัส
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอวิธีการประมาณและแก้ไขความถี่ออฟเซตสำหรับระบบมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอเมื่อพิจารณาช่องสัญญาณที่มีเฟดดิงแบบเลือกความถี่ โดยนำเสนอสองอัลกอริทึมหลักที่ใช้ในการประมาณความถี่ออฟเซต อัลกอริทึมแรกมีการเสนอเทคนิคเพื่อประมาณจำนวนวิถีสำคัญ เพื่อนำค่าที่ได้มาเลือกตำแหน่งของสัญญาณในการประมาณค่าความถี่ออฟเซตที่มีขนาดไม่เกินระยะห่างระหว่างคลื่นพาห์ย่อย หลังจากแก้ไขความถี่ออฟเซตชนิดที่ไม่เป็นจำนวนเต็มแล้วสัญญาณจะถูกแปลงไปอยู่ในโดเมนความถี่เพื่อทำการประมาณความถี่ออฟเซตชนิดที่เป็นจำนวนเต็มออกมา โดยวิทยานิพนธ์นี้ได้นำเสนอสัญลักษณ์นำร่องรูปแบบใหม่ที่เหมาะสมต่อช่องสัญญาณแบบเลือกความถี่เพื่อใช้ในการประมาณความถี่ออฟเซตที่เป็นจำนวนเต็ม ผลการจำลองระบบเปรียบเทียบระหว่างอัลกอริทึมที่นำเสนอกับอัลกอริทึมที่มีอยู่เดิมเป็นอย่างมาก
Other Abstract: This thesis presents the novel method for carrier frequency offset (FO) estimation in Multi-carrier Code Division Multiple Access (Multi-carrier CDMA, MCCDMA) with multipath Rayleigh fading channel. The proposed estimator is composed of two methods for improving the existing FO estimation techniques. First, the CIR length estimation technique is introduced in order to enhance the accuracy of fractional FO (FFO) estimation. Second, the new pilot design is proposed for acquiring an integer FO (IFO) value. The estimation of FFO (values is between -0.5 and 0.5) is carried out in the first stage. After the compensation of FFO, the estimation of IFO is then performed in the following stage. This new design overcomes the limit of the other previous FO value estimation techniques and very suitable for practical implementtation. From the simulation results, this new design significantly reduces the estimation error compared with the previous techniques. This confirms the advantages of proposed techniques.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1545
ISBN: 9745317101
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pruksa.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.