Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1548
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา รู้กิจการพานิช-
dc.contributor.advisorสมชาย พวงเพิกศึก-
dc.contributor.authorภัททรียา กิตติเจริญเกียรติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-07T11:51:10Z-
dc.date.available2006-08-07T11:51:10Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741762372-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1548-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาหาแนวทางที่เหมาะสมในการบำรุงรักษาเครื่องจักร โดยคัดเลือกเครื่องจักรในสายการผลิตที่มีประสิทธิผลโดยรวมต่ำสุด ซึ่งภายหลังการคัดเลือกเครื่องจักรแล้วพบว่า เครื่องจักรประเภท TAP-1RII ในสายการผลิต Pressimg มีประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรต่ำสุด จึงเลือกมาเป็นเครื่องจักรตัวอย่างเพื่อใช้ในการศึกษา โดยจะศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลทำให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรต่ำ จากนั้นจะวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร จากการศึกษาพบว่าแนวทางในการบำรุงรักษาเครื่องจักรที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน มีรายละเอียดที่ไม่ครอบคลุมทุกส่วนของเครื่องจักร และความถี่ในการบำรุงรักษายังไม่เหมาะสม ทำให้อัตราการขัดข้องของเครื่องจักรอยู่ในอัตราที่สูง จากสาเหตุที่กล่าวมา ทำให้ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการบำรุงรักษาเครื่องจักรไว้ดังนี้ 1. จัดทำแผนการบำรุงรักษา โดยแบ่งออกเป็น แผนการบำรุงรักษาระยะยาว (5 ปี) ระยะกลาง (ประจำปี) ระยะสั้น (ประจำเดือน) แผนการตรวจสอบชิ้นส่วนอุปกรณ์และแผนการหล่อลื่น 2. จัดทำมาตรฐานการบำรุงรักษา ได้แก่ มาตรฐานการตรวจสอบชิ้นส่วนอุปกรณ์ มาตรฐานการถอดและติดตั้งแม่พิมพ์ มาตรฐานการหล่อลื่นและมาตรฐานการทำความสะอาดแม่พิมพ์ 3. การควบคุมการบำรุงรักษา ได้แก่ จัดทำตารางการทำงานของช่างบำรุงรักษาเครื่องจักร จัดทำตารางอะไหล่สำรอง จัดทำประวัติเครื่องจักร ใบรายงานการซ่อมและใบรายงานการบำรุงรักษาเครื่องจักร หลังจากปรับปรุงแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักรและนำไปปฏิบัติแล้วพบว่า ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรสูงขึ้น โดยก่อนการปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรเท่ากับ 85.53% และภายหลังปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรเท่ากับ 93.84% ซึ่งเป็นการยืนยันได้ว่า เมื่อปรับปรุงแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักรแล้ว ทำให้ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรสูงขึ้น อัตราการขัดข้องของเครื่องจักรลดลง และยังส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการซ่อมเครื่องจักรลดลงอีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeTo study appropriated maintenance approaches for equipment in a capacitor factory. Starting by surveying and selecting machine that had lowest overall equipment deffectiveness (OEE). After surveying, we selected "TAP-1RII", a pressing machine in pressing production line, to be sample for this study. After studying and analysis, we found cause of low OEE was result of current maintenance method, which was not cover every part of machine and has in-efficient maintenance schedule. So we proposed guideline of improvement OEE as follow. 1. Prepare the maintenance plan in long-term plan (5-years), mid-term plan (annually), short-term plan (monthly), plan of part checking and lubrication checking. 2. Set up maintenance standard such as standard of part checking, standard of set up die set, standard of lubrication and standard of cleaning up die set. 3. Control and follow up maintenance plan such as let maintenance technician do maintenance report, spare part list, machine history and repair machine report. After improvement and implement of maintenance plan, the OEE of TAP-1RII machine was increased from 85.53% to 93.84%. So it is summarized that the improvement of maintenance plan is effective. It increases machine efficiency, decreased downtime and save repair cost also.en
dc.format.extent3970212 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องจักรกล--การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมen
dc.subjectการบำรุงรักษาโรงงานen
dc.titleการศึกษาแนวทางการบำรุงรักษาเครื่องจักรในโรงงานผลิตตัวเก็บประจุen
dc.title.alternativeStudy of maintenance approaches for equipment in a capacitor factoryen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pattreya.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.