Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15565
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา รัชชุกูล-
dc.contributor.authorปรัศนีย์ อัมพุธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-07-31T03:27:46Z-
dc.date.available2011-07-31T03:27:46Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15565-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเป็นอิสระในงานของพยาบาลวิชาชีพ ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการใส่สายระบายทรวงอก กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมหัวใจและทรวงอก โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรม คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการใส่สายระบายทรวงอก แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามความเป็นอิสระในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้เท่ากับ .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยของความเป็นอิสระในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ที่ได้รับการใส่สายระบายทรวงอก (mean = 3.86) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม (mean = 2.52) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi experimental research was to compare nurse’s job autonomy before and after using the evidence-based program nursing care critical patients who got intercostals chest drainage. Research sample consisted of 24 nurses from intensive care unit of cardio vascular thoracic in Ramathibodi hospital. The research instruments were the evidence-based program nursing care critical patients got intercostals chest drainage, training plan, using the evidence-based in nursing care critical patients got intercostals chest drainage handbook and monitoring from using the evidence-based program nursing care critical patients got intercostals chest drainage. Research data was obtained by nurses’s job autonomy questionnaires. The questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach’s alpha coefficient was .90. The data were analyzed by percentile, mean, standard deviation and t-test. The major finding was as follow: The mean score nurse’s job autonomy of group using the evidence-based program nursing care critical patients got intercostals chest drainage (mean = 3.86) was significantly higher than before experiment (mean = 2.52), at the level .05.en
dc.format.extent1810213 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.844-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตen
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพen
dc.subjectการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์en
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ต่อความเป็นอิสระในงานของพยาบาลวิชาชีพen
dc.title.alternativeThe effect of evidence-based promotion program for critial care nursing practice on professional nurses' job autonomyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuchada.Ra@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.844-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
prasanee_am.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.