Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรรณิการ์ อัศวดรเดชา-
dc.contributor.authorมันทนา ฉ่องสวนอ้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-09T10:55:39Z-
dc.date.available2011-08-09T10:55:39Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15640-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์และกลยุทธ์ที่ใข้ในการจัดการภาพลักษณ์ของโรงแรม ที่มีการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังศึกษาการรับรู้ ทัศนคติ และภาพลักษณ์ของสวนสามพราน สวนนงนุชพัทยา และหมู่บ้านอนุรักษ์ควายไทยในสายตานักท่องเที่ยว โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ ศึกษาภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ และกลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการภาพลักษณ์ โดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ส่วนที่สองคือ ศึกษาการรับรู้ ทัศนคติ และภาพลักษณ์ในสายตานักท่องเที่ยว จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า โรงแรมที่มีการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั้ง 3 แห่ง มีการกำหนดภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์ขององค์กรคล้ายคลึงกันคือ ภาพลักษณ์วัฒนธรรมไทย และภาพลักษณ์ธรรมชาติ โดยมีกลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการภาพลักษณ์ ดังนี้ 1. ใช้เอกลักษณ์ 2. ใช้สื่อมวลชนสัมพันธ์ ซึ่งประกอบไปด้วย โทรทัศน์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ 3. ใช้สื่อบุคคล 4. ใช้สื่ออินเทอร์เน็ต 5. ใช้สื่อกิจกรรม และเหตุการณ์พิเศษ และมีการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ด้วยวิธีสำรวจเป็นหลัก รองลงมาคือ การสัมภาษณ์นักท่องเที่ยวแบบเจาะลึก ในส่วนของการรับรู้ ทัศนคติ และภาพลักษณ์ของทั้ง 3 แห่ง กลุ่มตัวอย่างของโรงแรมที่มีการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั้ง 3 แห่ง มีทัศนคติเชิงบวกต่อสวนสามพราน สวนนงนุชพัทยา และหมู่บ้านอนุรักษ์ควายไทย.en
dc.description.abstractalternativeTo study wished image and image management strategies of hotel with cultural tourism management by studying involved document, in-depth interview, and survey of the consumers’ perception and attitude of Sampran Park, Nongnooch Park and Thai Buffalo Village. Questionnaires were used to collect data from 400 samples by surveys and analyzing data. SPSS Program was used for data processing. The findings were as follows : three hotels with cultural tourism management created wished image as Thai cultural and natural tourism centre. The image management strategies consisted of 1. unity 2. media relations 3. personal media 4.internet 5. activities and special events. As for research’s results, it was found that the target groups of the three hotels with cultural tourism management had positive attitudes toward Sampran Park, Nongnooch Park and Thai Buffalo Village.en
dc.format.extent1890682 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.50-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en
dc.subjectโรงแรม -- การประชาสัมพันธ์en
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การen
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดen
dc.titleกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของโรงแรมที่มีการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen
dc.title.alternativePublic relations strategies of hotel with cultural tourism managementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKannigah.As@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.50-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mantana_ch.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.