Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15745
Title: การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Other Titles: Media exposure, knowledge, attitude and saving behavior of Bangkok residents
Authors: สุปัญนี ปลั่งกมล
Advisors: อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
Advisor's Email: Ubolwan.P@chula.ac.th
Subjects: การเปิดรับข่าวสาร
การสื่อสารทางการตลาด
การประหยัดและการออม
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ ลักษณะทางประชากร และพฤติกรรมการออม ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมต่อพฤติกรรมการออมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบวัดครั้งเดียว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่ออธิบายข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง ใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ทดสอบสมมติฐานเพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ใช้สถิติค่า t- test และใช้สถิติ Analysis of variance : ANOVA ในการวิเคราะห์หาค่าความแตกต่าง และค่าความแปรปรวนของข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. การเปิดรับข่าวสารจากสื่อมวลชน สื่อบุคคล สื่อเฉพาะกิจ และสื่อใหม่ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมออมของประชาชน 2. ทัศนคติต่อการออมที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมของประชาชน 3. ลักษณะทางประชากรด้านอายุ และรายได้ที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการออมที่แตกต่างกัน 4. สื่อที่แตกต่างกัน ส่งผลให้มีพฤติกรรมการออมที่แตกต่างกัน
Other Abstract: To examine the media exposure, knowledge, attitude, demographic, and saving behavior of Bangkok residents and to examine the factor to promote the saving behavior of Bangkok Residents. The objective of this survey research is one shot descriptive study. Questionnaires had been used for data collection from a total of 400 samples. The statistical techniques were percentage, mean, standard deviation,t- test, one-way ANOVA, and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient had been used for data analysis through SPSS program. The results of the research were as follows : 1. There was the media exposure from mass media, interpersonal media, specialized media, and new media correlation with people’s saving behavior. 2. Attitude on different of saving correlation with people’s saving behavior. 3. Age and Income has been affected to the different of saving behavior. 4. Different of media has been affected to the different of saving behavior.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิเทศศาสตรพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15745
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1365
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.1365
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
supunnee_pl.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.