Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16089
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน | - |
dc.contributor.author | ฐิติพร อัครชัยศักดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2011-10-05T11:54:05Z | - |
dc.date.available | 2011-10-05T11:54:05Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16089 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | วิเคราะห์กิจกรรมและศึกษาการจัดวางที่เหมาะสมสำหรับคงคลังสินค้ากรณีศึกษา ซึ่งนำเอาหลักการจัดวางผังคลังสินค้าอย่างมีระบบ และแผนภาพความสัมพันธ์ มาใช้ในการวิเคราะห์ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการปรับปรุงการจัดวางผังคลังสินค้าใหม่ และศึกษาทิศทางการไหลของงานว่าการจัดวางผังภายในคลังสินค้ากรณีศึกษา ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ เมื่อมีการทดลองปรับปรุงผังการจัดวางผังคลังสินค้าแบบใหม่ โดยให้มีการโยกย้ายแผนกต่างๆ และตรวจสอบทิศทางการไหลว่าดีขึ้นหรือไม่ หลังจากนั้นเปรียบเทียบแผนผังเดิม แผนผังการจัดวางในทางเลือกใหม่และผังคลังสินค้าในอุดมคติของผู้วิจัย พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ข้อจำกัดต่างๆ ให้กับบริษัทคลังสินค้ากรณีศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขผังคลังสินค้าในปัจจุบัน และคลังสินค้าที่อาจเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตด้วย จากการประเมิลผลพบว่า ทางเลือกที่ 1 และทางเลือกที่ 2 มีระยะทางโดยรวมเท่ากันคือ 790 เมตรลดลงจากเดิมที่ยังไม่มีการปรับปรุงคลังสินค้าเป็นระยะทาง 50 เมตรซึ่งระยะเวลาในทางเลือกที่ 1 และ 2 ใช้ระยะเวลาเท่ากันคือ 31.6 นาทีลดลงจากเดิม 4.9 นาที แต่ด้วยระยะทางความสัมพันธ์ระหว่างแผนกของทางเลือกที่ 2 มีค่าน้อยกว่าระยะทางความสัมพันธ์ของทางเลือกที่ 1 ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้เลือกแบบทางเลือกที่ 2 ในการปรับปรุงคลังสินค้ากรณีศึกษา เพื่อให้ประสิทธิภาพในการดำเนินงานภายในคลังสินค้ามีแนวโน้มที่ดีขึ้น และสามารถทำการลดค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บสินค้าเข้าคลังสินค้าได้ และพบว่าก่อนปรับปรุงคลังสินค้าตั้งแต่เดือน ก.พ. 2552 ถึง ก.ค. 2552 มีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น 2,969,460 บาท และเมื่อปรับปรุงคลังสินค้าแล้วมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น 1,621,776 บาท ซึ่งการปรับปรุงคลังสินค้าในแบบทางเลือกที่ 2 สามารลดค่าใช้จ่ายได้เป็นจำนวน 1,347,684 บาท และพบว่าคลังสินค้าในอุดมคติของผู้วิจัยนั้นไม่สามารถทำได้ เนื่องจากว่าระยะเวลาในการเปลี่ยนผังคลังสินค้านานเกินไป และคลังสินค้ากรณีศึกษาไม่มีงบประมาณในการปรับผังด้วย | en |
dc.description.abstractalternative | To analyze activity and study proper inventory for case study which use the principal of systematic warehouse planning and relationship diagram analysis. Through questionnaire as tool for analysis and improve new warehouse. This is to bring the relationship information to study whether direction of internal warehouse plan is appropriate or not. When experiment improvement of plan, new warehouse plan by moving different sections to see if flow of direction is better or not. Then compare current plan with new plan and the researcher’s ideal warehouse plan. And to provide suggestions and limitations to the company as guideline to consider current or future warehouse plan. From evaluation, we found that option 1 and 2 has total distance of 790 meters which is lower than the previous that has not yet implemented improvement of 50 meter and time under option 1 and 2 is the same 31.6 minutes and 4.9 minutes less. But distance and relationship between sections of option 2 is less than distance of option 1, thus the researcher has selected option 2 to improve case study in order to create efficiency in carrying out warehouse operation and reduce expense in stocking goods in warehouse. The finding is expense before improvement from Feb.2009 to July 2009 was 2,969,460 baht and after improvement was 1,621,776 baht. So option 2 can reduce expense by 1,347,684 baht and found that the researcher’s ideal warehouse cannot be created due to time to change warehouse plan is too long and no budget for improvement. | en |
dc.format.extent | 2589255 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.952 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การจัดการคลังสินค้า | en |
dc.subject | การวางผังโรงงาน | en |
dc.subject | รถยนต์ -- อะไหล่ | en |
dc.title | การปรับปรุงกระบวนการขนส่งเพื่อลดต้นทุนของโรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ | en |
dc.title.alternative | Transporation process improvement for cost reduction in automotive spare factory | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suthas.R@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.952 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Titiporn_Ak.pdf | 2.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.