Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์-
dc.contributor.authorสิรินทิพย์ สินแสงแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialพระนครศรีอยุธยา-
dc.date.accessioned2011-11-20T09:19:24Z-
dc.date.available2011-11-20T09:19:24Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16194-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมบริเวณโครงการนำร่องการบริหารจัดการและพัฒนาพื้นที่การเกษตรเป็นพื้นที่รองรับน้ำนอง เพื่อบรรเทาอุทกภัยตามแนวพระราชดำริ แก้มลิง อำเภอบางบาล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรม โดยการศึกษาเปรียบเทียบ และวิเคราะห์ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในอดีต ปัจจุบัน และเมื่อเกิดโครงการแก้มลิงฯ ซึ่งกรอบที่ใช้ในการศึกษาภูมิทัศน์วัฒนธรรมในครั้งนี้ ได้แก่ การตั้งถิ่นฐาน สถาปัตยกรรม การคมนาคม เกษตรกรรม และวัฒนธรรม จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการตั้งถิ่นฐานจากอดีตจนถึงปัจจุบันมีลักษณะเป็นแบบกระจุก-ตัวและมีความหนาแน่นตามแนวลำน้ำ สถาปัตยกรรมมีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมโดยอาคารมี การยกใต้ถุนสูงเพื่อป้องกันน้ำท่วม การคมนาคมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตคือการคมนาคมทางน้ำเปลี่ยนเป็นทางบก เกษตรกรรมหลักของพื้นที่ยังคงเป็นการทำนาแต่มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำนาจากเดิมทำนาปีเป็นนาปรัง สำหรับวัฒนธรรมยังคงมีประเพณีตามเทศกาลสำคัญทางศาสนา และประเพณีประจำท้องถิ่นที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต การศึกษาครั้งนี้สรุปแนวทางในการปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็น 2 แนวทางคือ 1) ดำเนินแนวทางตามที่ได้มีการปรับเปลี่ยนมาแล้วตั้งแต่ในอดีตจนกระทั่งปัจจุบันต่อไป ได้แก่ ลักษณะการตั้งถิ่นฐานแบบกระจุกตัวตามแนวลำน้ำ, สถาปัตยกรรมแบบยกใต้ถุนสูง, เกษตรกรรมยังคงเป็นการทำนาต่อไป 2) การปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับลักษณะโครงการแก้มลิง ได้แก่ การคมนาคมทางบกควรปรับเปลี่ยนเป็นการคมนาคมทางน้ำเมื่อถึงฤดูน้ำหลาก, วัฒนธรรมควรสืบสานวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิม และเพิ่มประเพณีที่เกี่ยวข้องกับสายน้ำen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study the cultural landscape, in order to adapt guidelines for this pilot project. This study is framed in five issues namely; settlement, architecture, communication, agriculture and culture. The study was found that the settlements from the past until now, have a characteristic concentration and density along rivers. Architecture built on stilts with open ground floor for flood preventing. Transportation has changed from the past is to transport the water changes the land. Agriculture also has made the shift from rice cultivation in the in-season rice field become off-season paddy field. Cultures remain the local customs regarding lifestyle and seasonal major religious traditions. The consequences of this study possibly could be used as the guidelines to solve the difficulties, which will be done in two aspects; first the approach as a change from the past till now was to include the nature of a settlement is concentrated along the river, architecture built on stilts with open ground floor to protect flood, agriculture is still a farm next, secondly the adjusted to fit the characteristics of projects, including transportation by land transport should change the water when a great flood of summer, culture should keep the existing culture. And increase customs related to rivers.en
dc.format.extent3945214 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.160-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโครงการแก้มลิงen
dc.subjectน้ำท่วมen
dc.subjectการจัดการน้ำ -- ไทย -- พระนครศรีอยุธยาen
dc.subjectการป้องกันน้ำท่วม -- ไทย -- พระนครศรีอยุธยาen
dc.subjectโครงการแก้มลิงen
dc.subjectภูมิทัศน์วัฒนธรรม -- ไทย -- พระนครศรีอยุธยาen
dc.titleแนวทางการปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมตามโครงการนำร่องการบริหารจัดการและพัฒนาพื้นที่การเกษตรเป็นพื้นที่รองรับน้ำนอง เพื่อบรรเทาอุทกภัยตามแนวพระราชดำริแก้มลิง อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยาen
dc.title.alternativeAdaptation guidelines for cultural landscape regards to the management and development of agricultural area in mitigation of floods according to The Royal Initiative Pilot Project Monkey Cheek in Bangbal Phanakorn Sri Ayutthaya Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภูมิสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPongsak.V@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.160-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirintip_si.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.