Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดาริชา สุธีวงศ์-
dc.contributor.authorจิรวุฒิ จึงศิรกุลวิทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-11-29T09:02:52Z-
dc.date.available2011-11-29T09:02:52Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16240-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอตัวแบบเชิงปริมาณสำหรับการบริหารยอดรวมการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาโดยใช้การประเมินมูลค่าแบบออปชันจริง เพื่อช่วยในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้ยอดรวมการลงทุนมีความสมดุลและได้รับผลตอบแทนที่ดีที่สุด โดยแบบจำลองพิจารณาความไม่แน่นอนของสองปัจจัยคือ ความไม่แน่นอนทางเทคนิค และความไม่แน่นอนทางตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการการลงทุนที่ถูกแบ่งออกเป็นสองระยะ ได้แก่ ระยะการวิจัยและพัฒนา กับระยะการผลิตสินค้าออกสู่ตลาด ในที่นี้การวิเคราะห์แบบออปชันจริงถูกนำมาใช้รองรับการจัดการที่มีความยืดหยุ่น เช่น การที่ผู้ลงทุนมีสิทธิในการระงับและกลับมาลงทุนได้ใหม่ หรือสิทธิในการยืดระยะเวลาการนำสินค้าออกสู่ตลาด เป็นต้น งานวิจัยนี้ได้นำวิธีการจำลองสถานการณ์แบบมอนติคาร์โลมาทดสอบกับชุดข้อมูลเชิงตัวเลขโครงการ MACH3 ของบริษัทยิลเล็ต รวมทั้งได้นำทฤษฎีอรรถประโยชน์มาเพื่อหายอดรวมที่เหมาะสมที่สุดเมื่อนักลงทุนมีทัศนคติต่อความเสี่ยงต่างๆ กัน ผลจากการจำลองได้นำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการถ่วงดุลผลตอบแทนกับความเสี่ยง และการวิเคราะห์ความไวเพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อแนวทางการจัดสรรยอดรวมการลงทุนที่เหมาะสมสุด รวมทั้งแสดงให้เห็นผลกระทบจากความไม่แน่นอนทางเทคนิคและทางตลาดที่มีต่อกระบวนการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาen
dc.description.abstractalternativeThis research proposes a quantitative model for managing a portfolio of R&D projects using real options valuation in order to balance and optimize R&D portfolio budget allocation. The model focuses on two dimensions of uncertainty – market and technical – in the investment process, which is divided into two critical stages: R&D phase and commercialization phase. The real options analysis is employed to account for management flexibility, such as an option to stop and later restart the investment or an option to defer the product launch. We utilize Monte-Carlo simulation technique to illustrate an application of the model using Gillette’s MACH3 numerical data set. A utility theory is also used to optimize portfolio based on investors’ various risk attitudes. Finally, the simulation results are studied using risk-return approach, and sensitivity analysis offers comparison and recommendation of an optimal portfolio as well as illustrates the effects of technical and market uncertainties on the R&D investment process.en
dc.format.extent1233954 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1296-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการบริหารบัญชีเงินลงทุนen
dc.titleการบริหารยอดรวมการลงทุนเชิงออปชันในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีen
dc.title.alternativePortfolio management of option-based investment in technology research and developmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDaricha.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1296-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jirawute.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.