Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16268
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตยา โตควณิชย์-
dc.contributor.authorชาลาภรณ์ อัจฉริยานุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-04T04:05:38Z-
dc.date.available2011-12-04T04:05:38Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16268-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง (1) การรับรู้ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของสินค้าและบริการ และ (2) การรับรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อสินค้าและบริการที่ทำการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือ โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างเพศชายและหญิงอายุ 25-34 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 426 คน ซึ่งเป็นผู้ที่เคยได้รับข้อความโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ภายใน 3 เดือนที่ผ่านมาจากทั้งสินค้าที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โทรศัพท์มือถือและผลิตภัณฑ์ดูแลผิว (ผิวหน้า/ผิวกาย) และบริการ ได้แก่ ระบบโทรศัพท์มือถือและบัตรเครดิต อย่างน้อยสินค้าใดสินค้าหนึ่งหรือบริการใดบริการหนึ่ง ผลการวิจัย พบว่า (1) การรับรู้และทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของบริการ และความตั้งใจซื้อบริการที่ทำการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (2) การรับรู้ของผู้บริโภคที่มีต่อการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของบริการ ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อบริการที่ทำการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือ และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อบริการที่ทำการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของบริการ มีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) การรับรู้ของผู้บริโภคที่มีต่อการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของบริการ ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อบริการที่ทำการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือ และความตั้งใจซื้อบริการที่ทำการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภค มีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey were to study: (1) the relationship of consumer’s perception, attitude and behavior toward mobile advertising of products and services, and (2) the relationship of consumer’s perception, attitude and behavior toward products and services advertised via mobile phone. Self-administered questionnaires were used to collect data from 426 males and females, 25-34 years old, living in Bangkok who, within the past three months, received mobile advertising from at least one product (mobile phone or skin care product) or service (mobile network service or credit card), which are used in this research. The finding showed that: (1) consumer’s perception, attitude toward service’s mobile advertising, and purchase intention of services advertised via mobile phone were significantly and positively correlated, (2) consumer’s perception toward service’s mobile advertising, attitude toward the services advertised via mobile phone, and consumer behavior toward service’s mobile advertising were significantly and positively correlated and (3) consumer’s perception toward service’s mobile advertising, attitude toward services advertised via mobile phone, and purchase intention toward services advertised via mobile phone were significantly and positively correlated.en
dc.format.extent1650948 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1298-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการตลาดโดยตรงen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.titleการรับรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการโฆษณาผ่านทางโทรศัพท์มือถือen
dc.title.alternativeConsumer's perception, attitude and behavior regarding mobile advertisingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการโฆษณาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRataya.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1298-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalaporn_ut.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.