Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16358
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุจฤทัย พงษ์เก่า คะชิมา-
dc.contributor.authorสิริธิดา ชูเกษร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-13T03:56:20Z-
dc.date.available2011-12-13T03:56:20Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16358-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการปรับปรุงการยึดติดของฟิล์มแคลเซียมฟอสเฟตบนไทเทเนียมซับสเตรตที่ถูกดัดแปรพื้นผิวด้วยวิธีเคมีไฟฟ้าแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มตามชนิดของสารเคมีที่ใช้ในการดัดแปรผิวโลหะไทเทเนียม ดังนี้ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ กรดไฮโดรคลอริก และโซเดียมไฮดรอกไซด์ จากนั้นใช้กระบวนการเคมีไฟฟ้า ที่กระแสไฟฟ้า -10 mA/cm[superscript 2] เป็นเวลา 5 นาที เพื่อเตรียมฟิล์มแคลเซียมฟอสเฟตบนโลหะไทเทเนียมโดยใช้ไทเทเนียมบริสุทธิ์ (99.99%) ขนาดกว้าง 0.8 ซม. ยาว 2 ซม.เป็นซับสเตรต ไทเทเนียมซับสเตรตเหล่านี้จะถูกนำไปดัดแปรผิวก่อนหลังจากนั้นนำไปกัดด้วยกรดไฮโดรฟลูออริกเข้มข้น 2 โมลาร์ นาน 1 นาที ก่อนการทำปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า สำหรับอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้ในงานวิจัยนี้ จะเป็นระบบที่มีเอทานอลเป็นองค์ประกอบอยู่โดยนำ MCPM มาละลายในเอทานอลที่มีความเข้มข้น 20 % โดยปริมาตรจนได้เป็นสารละลายอิ่มตัว เฟสหลักที่พบในฟิล์มแคลเซียมฟอสเฟตที่ผ่านการดัดแปรผิวด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ คือ โมนีไทต์และบรู-ไชต์ โดยมีบรูไชต์เกิดเป็นเฟสรอง และมีค่าความเค้นเฉือนของการยึดติดระหว่างฟิล์มแคลเซียมฟอสเฟตกับผิวโลหะไทเทเนียมที่ผ่านการดัดแปรผิวด้วย H[subscript 2]O[subscript 2] ความเข้มข้น 4 โมลาร์ เท่ากับ 7.06 MPa เมื่อแช่ไทเทเนียมซับสเตรตที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยฟิล์มแคลเซียมฟอสเฟตดังกล่าวในสารละลาย C-SBF, R-SBF และ n-SBF ซึ่งเป็นสารละลายที่มีปริมาณอิออนต่างๆใกล้เคียงกับอิออนที่พบในเลือดของมนุษย์ เป็นเวลา 1-7 วันแล้ว พบว่ายังคงเป็นเฟสโมนีไทต์เหมือนเดิมen
dc.description.abstractalternativeImproving the adhesion of calcium phosphate film on titanium substrate was performed in three different kind of modified surface solutions: H[subscript 2]O[subscript 2], HCl, NaOH. The pure titanium metal (99.99%) with 0.8x2 cm was used as a substrate for electrochemical deposition. The substrate was etched in 2 M-HF for 1 minute before electrochemical deposition process. The calcium phosphates film could be formed in a negative regions of current density at -10 mA/cm[superscript 2] for 5 minute. The electrolyte used in this experiment was MCPM based 20% V/V ethanol. The major phase appeared in the titanium substrate with H[subscript 2]O[subscript 2] modified surface was monetite co-existed with brushite. The best adhesion of calcium phosphate film to substrate formed on 4 M H[subscript 2]O[subscript 2] treated titanium substrates was 7.06 MPa. After soaking in C-SBF, R-SBF and n-SBF for 1-7 days, only monetite phase still appeared.en
dc.format.extent2637094 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.368-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแคลเซียมฟอสเฟตen
dc.subjectเคมีไฟฟ้าen
dc.subjectไทเทเนียมen
dc.titleการปรับปรุงการยึดติดของฟิล์มแคลเซียมฟอสเฟตบนไทเทเนียมซับสเตรตที่ถูกดัดแปรผิวด้วยวิธีเคมีไฟฟ้าen
dc.title.alternativeImproving the adhesion of calcium phosphate film on modified surface titanium substrate by electrochemical methoden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเซรามิกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDujreutai.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.368-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siritida_Ch.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.