Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16360
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุทิศ ดีสมโชค | - |
dc.contributor.advisor | ฐิตเวทย์ ตุมราศวิน | - |
dc.contributor.author | สมชาย อรรฆศิลป์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2011-12-13T04:32:28Z | - |
dc.date.available | 2011-12-13T04:32:28Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16360 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบการใช้ยาลดกรดยูริคชนิดรับประทานรวมกันขนาดต่ำ (Allopurinol 100 มก. กับ Benzbromarone 20 มก.) กับยา Allopurinol ขนาดมาตรฐาน (300 มก.) ในการลดระดับกรดยูริคในเลือด ในผู้ป่วยที่มีภาวะกรดยูริคในเลือดสูง โดยเป็นการศึกษาเชิงทดลองเปรียบเทียบระดับกรดยูริคในเลือดก่อนและหลังให้ยาเป็นเวลา 1 เดือน ผลการศึกษาพบว่ามีผู้ป่วยเข้าทำการศึกษากลุ่มละ 47 คน พบว่าทั้ง 2 กลุ่มสามารถลดระดับกรดยูริคในเลือดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยในกลุ่มที่ได้รับยา Allopurinol ขนาดมาตรฐานลดระดับกรดยูริคในเลือดได้ 4.1+-2.7 มก./ดล.(P=0.000) และกลุ่มที่ได้รับยาลดกรดยูริคชนิดรับประทานรวมกันขนาดต่ำลดระดับกรดยูริคในเลือดได้ 2.5+-3.4 มก./ดล.(P=0.000) และเมื่อเปรียบเทียบทั้ง 2 กลุ่มแล้วพบว่ากลุ่มที่ได้รับยา Allopurinol ขนาดมาตรฐานลดระดับกรดยูริคในเลือดได้มากกว่ากลุ่มที่ได้รับยาลดกรดยูริคชนิดรับประทานรวมกันขนาดต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.010) โดยสรุปพบว่ายา Allopurinol ขนาดมาตรฐานสามารถลดระดับกรดยูริคในเลือดได้ดีกว่า ยาลดกรดยูริคชนิดรับประทานรวมกันขนาดต่ำ | en |
dc.description.abstractalternative | This study is aimed to compare the efficacy of combined low dose hypouricemic drug (100 mg of allopurinol+20 mg of benzbromarone) and standard dose of allopurinol (300 mg/d) for in treatment of hyperuricemia. Thsi is an experimental study in which uric acid levels have been measured before and after a month trial of the treatments. Forty seven patients in each group were included in statistically significant reduction of serum uric acid levels were found in both groups but to a greater degree in the standard allopurinol treated patients (4.1+-2.7 VS 2.5+-3.4 mg/d reduction). Such difference is considered significant statistically. (P value = 0.010) In conclusion, this study demonstrates that the efficacy of standard dose of allopurinol is superior to treat of combined low dose treatment in terms of hyperuricemic terapy. | en |
dc.format.extent | 4127525 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ยาลดกรดยูริค | en |
dc.title | การใช้ยาลดกรดยูริคชนิดรับประทานรวมกันขนาดต่ำเปรียบเทียบ กับยา Allopurinol ขนาดมาตรฐานในผู้ป่วยที่มีภาวะกรดยูริคในเลือดสูง | en |
dc.title.alternative | The comparison of combined low dose oral hypouricemic drug and standard dose of allopurinol in hyperuricemia | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Utis.D@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
somchai_ak.pdf | 4.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.