Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16489
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยา ติงศภัทิย์, ม.ร.ว.-
dc.contributor.authorฌัลลิกา มหาพูนทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกระบี่-
dc.coverage.spatialตรัง-
dc.coverage.spatialนครศรีธรรมราช-
dc.coverage.spatialสุราษฎร์ธานี-
dc.date.accessioned2012-01-11T07:12:32Z-
dc.date.available2012-01-11T07:12:32Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746356399-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16489-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อกำหนดแนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออกกับภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก โดยใช้การแปรระหว่าง /k/ กับ /?/ ในตำแหน่งพยัญชนะท้ายของพยางค์ที่มีสระเสียงยาวเป็นเกณฑ์ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องผู้วิจัยจึงตั้งสมมติฐานว่า บริเวณที่น่าจะเป็นที่ตั้งของแนวแบ่งเขตภาษาดังกล่าวที่เป็นพื้นที่ราบ มีอยู่ 5 บริเวณคือ 1.บริเวณระหว่างอำเภอเมือง กับอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2.บริเวณระหว่างอำเภอนาบอนกับอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช 3.บริเวณระหว่างอำเภอทุ่งสง กับอำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4.บริเวณระหว่างอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช กับอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 5.บริเวณระหว่างอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง กับอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลรวมทั้งสิ้น 89 จุด ซึ่งเลือกมาอย่างมีระบบใน 5 บริเวณดังกล่าวข้างต้น ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้จากการสัมภาษณ์ผู้บอกภาษาที่คัดเลือกตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้จุดละ 5 คน ผลการวิจัยพบว่า แนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออกกับภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตกโดยใช้พยางค์ที่มีสระเสียงยาวกับพยัญชนะท้าย /k/ หรือ /?/ เป็นเกณฑ์นั้น อยู่ในบริเวณที่ตั้งสมมติฐานไว้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอำเภอเมือง กับอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2. เส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างอำเภออนาบอน กับอำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. บ้านหนองหว้า อำเภอทุ่งสง เป็นจุดแบ่งเขตในพื้นที่ระหว่างอำเภอทุ่งสง กับอำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4. บ้านวังเต่า ซึ่งอยู่ทางตอนล่างของอำเภอทุ่งสง เป็นจุดแบ่งเขตในพื้นที่ระหว่างอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช กับกิ่งอำเภอรัษฎา (ซึ่งเดิมรวมอยู่ในอำเภอห้วยยอด) จังหวัดตรัง 5. บริเวณตรงกึ่งกลางระหว่างบ้านคลองท่อมใต้กับบ้านห้วยน้ำขาว อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ หากพิจารณาแนวแบ่งเขตที่ลากผ่าน 5 บริเวณนี้และที่ลากผ่านเทือกเขาในบริเวณที่ต่อเนื่องกัน จะได้แนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออกกับภาษาไทยถิ่นใต้ตะตก ซึ่งเริ่มจากอ่าวไทยในจังหวัดสุราษฎร์ธานีลงมาทางใต้ตามเทือกเขานครศรีธรรมราช แล้วมุ่งสุ่ทางทิศตะวันตกผ่านเทือกเขาหน้าแดงไปจรดทะเลอันดามันen
dc.description.abstractalternativeThe research aims at locating the dialect boundary between eastern southern Thai and western southern Thai on the basis of variation between /k/ and /?/ in the final position of long syllables. Based on a survey of related literature it was hypothesized that the dialect boundary should be found in the following 5, low-land areas : 1.between Amphoe Muang and Amphoe Kanchanadit in Surat Thani. 2.between Amphoe Nabon and Amphoe Lan Saka in Nakhon Si Thammarat. 3.between Amphoe Thung Song and Amphoe Ron Phibun in Nakhon Si Thammarat. 4.between Amphoe Thung Song in Nakhon Si Thammarat and Amphoe Huai Yot in Trang. 5.between Amphoe Sikao in Trang and Amphoe khlong Tom in Krabi. Eighty nine study locations were selected systematically in this 5 areas. The data used in this study were collected from 5 informants at each location who were chosen according to a set of oriteria. It was found that the dialect boundary between eastern southern Thai and western southern Thai on the basis of variation between /k/ and /?/ in the final position of long syllables is located in the five areas as stated in the hypothesis, the details are as follows. 1.The administrative boundary between Amphoe Muang and Amphoe Kanchanadit in Surat Thani. 2.The administrative boundary between Amphoe Nabon and Amphoe Lan Saka in Nakhon Si Thmmarat. 3.Ban Nong Wa in Amphoe Thung Song is the boundary location between Amphoe Thung Song and Amphoe Ron Phibun in Nakhon Si Thammarat. 4.Ban Wang Tao in the south of Amphoe Thung Song is the boundary location between Amphoe Thung Song in Nakhon Si Thammarat and King Amphoe Ratsada (formerly a part of Amphoe Huai Yot) in Trang. 5.The area between Ban Khlong Tom Tai and Ban Huai Nam Khao, Amphoe Khlong Tom in Krabi. When the boundary lines drawn in the five areas are considered together with the location of the mountain ranges, a complete picture of the dialect boundary between eastern southern Thai and western southern Thai may be seen beginning at the Gulf of Thailand in Surat Thani, moving south along the Nakhon Si Thammarat mountain ranges, turning west past the Na Daeng mountain ranges, and ending at the Andaman Sea.en
dc.format.extent846368 bytes-
dc.format.extent1585926 bytes-
dc.format.extent1623470 bytes-
dc.format.extent1265572 bytes-
dc.format.extent987478 bytes-
dc.format.extent765888 bytes-
dc.format.extent1080781 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาไทย -- ภาษาถิ่น (กระบี่)en
dc.subjectภาษาไทย -- ภาษาถิ่น (ตรัง)en
dc.subjectภาษาไทย -- ภาษาถิ่น (นครศรีธรรมราช)en
dc.subjectภาษาไทย -- ภาษาถิ่น (สุราษฎร์ธานี)en
dc.subjectภาษาไทย -- สระen
dc.subjectภาษาไทย -- ตัวอักษรen
dc.subjectภาษาไทยถิ่นใต้en
dc.titleการกำหนดแนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออกกับภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก โดยใช้พยางค์ที่มีสระเสียงยาวกับพยัญชนะท้าย /k/ หรือ /?/en
dc.title.alternativeLocating a dialect boundary between Eastern Southern Thai and Western Southern Thai using syllables with long vowels and final /k/ or /?/en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkalaya.t@chula.ac.th, kalaya@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Challika_Ma_front.pdf826.53 kBAdobe PDFView/Open
Challika_Ma_ch1.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Challika_Ma_ch2.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Challika_Ma_ch3.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
Challika_Ma_ch4.pdf964.33 kBAdobe PDFView/Open
Challika_Ma_ch5.pdf747.94 kBAdobe PDFView/Open
Challika_Ma_back.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.