Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสาธิต วงศ์ประทีป-
dc.contributor.advisorชัยศิริ ปัณฑิตานนท์-
dc.contributor.authorบพิตร ไชยนอก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-01-19T14:15:41Z-
dc.date.available2012-01-19T14:15:41Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16524-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractนำเสนอการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมช่วยสอนในการควบคุมและเฝ้าระวังของศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และลดเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในศูนย์ข้อมูลหยุดทำงาน อันเนื่องจากสภาพแวดล้อมมีปัญหาให้น้อยที่สุด การพัฒนาเริ่มจากนำเทคนิคทางด้านวิศวกรรมการใช้งานเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อตรวจสอบหาปัญหาเกี่ยวกับส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ของสภาพแวดล้อมที่สำคัญของศูนย์ข้อมูล ได้แก่ ระบบป้องกันและดับเพลิง ระบบทำความเย็น ระบบสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ และระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้า โดยเทคนิคที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยนี้คือ การวิเคราะห์งานและผู้ใช้ ระเบียบวิธีการถามความเห็นของผู้ใช้ และการประเมินเวลาในการทำภารกิจด้วยแบบจำลองเคแอลเอ็ม และนำปัญหาที่ได้มาวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมช่วยสอน เพื่อนำไปทดลองใช้งานกับศูนย์ข้อมูลของบริษัทแห่งหนึ่ง โดยใช้วิศวกรจำนวน 10 คน ผลการวิจัยพบว่า เมื่อประยุกต์เทคนิคทางด้านวิศวกรรมการใช้งานตั้งแต่เริ่มพัฒนาโปรแกรม ทำให้โปรแกรมมีการใช้งานที่ดีขึ้น ง่ายในการเรียนรู้วิธีการใช้งาน ง่ายในการจดจำวิธีการใช้งาน ช่วยลดความผิดพลาดในการใช้งาน และสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้งาน โดยได้เปรียบเทียบจากคุณสมบัติของการใช้งานและเวลาที่ใช้ จากแบบสอบถามพบว่าสามารถปรับปรุงการใช้งานโดยรวมได้ดีขึ้นโดยเฉลี่ย 17.52% และจากแบบจำลองเคแอลเอ็มพบว่า สามารถลดเวลาในการทำภารกิจลงโดยเฉลี่ย 35.94%en
dc.description.abstractalternativeTo present a design and development of a computer-aided training software for controlling and monitoring of computer data center to reduce the mal-function of computers caused by data center facilities. The development started by applying the usability engineering technique to examine the problems of user interface for these facilities e.g., a cooling system, electrical system, and fire suppression system. The techniques used in research are user and task analysis, think aloud protocol, and key stroke level model. These techniques were used to analyze the problems and design a computer-aided training software. The computer-aided training software will be tested at one of the computer data center in one of the commercial company using ten engineers. The research’s result has shown that when applying the usability engineering technique in the development process, the computer-aided training software is better and easier to learn, easier to remember the instructions, reduce the user’s mistake in operations, and satisfied the users. By comparing the usability features and time of the computer-aided training software compared with the old system. It was found that the usability improved by the average of 17.52% and the time taken was reduce by 35.94% when apply KLM model.en
dc.format.extent2345215 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.930-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตัวเชื่อมประสานกับผู้ใช้ (ระบบคอมพิวเตอร์)en
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.subjectห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์en
dc.titleการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมช่วยสอนในการควบคุมและเฝ้าระวังของศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์en
dc.title.alternativeA design and development of a computer-aided training software for controlling and monitoring of computer data centersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsartid@cp.eng.chula.ac.th, Sartid.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorchaisiri@cp.eng.chula.ac.th, Chaisiri.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.930-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
bopit_ch.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.