Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมรัฐ โอสถาพันธุ์-
dc.contributor.authorวศินี กิตติสาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-01-22T01:12:44Z-
dc.date.available2012-01-22T01:12:44Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16547-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractไซยาไนด์เป็นสารเคมีอันตรายที่มักพบอยู่ในน้ำเสียจากอุตสาหกรรมการชุบโลหะ วิธีการกำจัดไซยาไนด์โดยทั่วไปคือ การกำจัดโดยการออกซิเดชัน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการออกซิเดชันของสารประกอบเชิงซ้อนโคบอลต์ไซยาไนด์ ในรูปโพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนโคบอลเตตด้วยเฟอร์เรต การวิจัยจะศึกษาผลของพีเอช (9 10 และ 11) และอัตราส่วนโดยโมลเฟอร์เรตต่อไซยาไนด์ต่อประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์และสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น ในการทดลองแรก ทดลองที่ความเข้มข้นเฟอร์เรต 500 ไมโครโมลาร์ ช่วงความเข้มข้นของไซยาไนด์ (500 250 100 50 25 20 12.5 และ 10 ไมโครโมลาร์) ผลการทดลองพบว่า ที่พีเอช 10 อัตราส่วนโดยโมลเฟอร์เรตต่อไซยาไนด์เท่ากับ 50:1 มีประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์สูงที่สุดเท่ากับ 100% โดยผลิตภัณฑ์หลักที่เกิดขึ้นจากการกำจัดเฮกซะไซยาโนโคบอลเตต คือไนไตรท์ และไนเตรท ในส่วนที่สอง ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ที่อัตราส่วนโดยโมลเฟอร์เรตต่อไซยาไนด์ เท่ากับ 5:1 พบว่าที่พีเอช 10 มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วที่สุดในส่วนสุดท้าย ทดลองที่ความเข้มข้นไซยาไนด์ 20 ไมโครโมลาร์ ช่วงความเข้มข้นของเฟอร์เรต (20 40 100 200 400 และ 500 ไมโครโมลาร์) ผลการทดลองพบว่า ที่พีเอช 10 อัตราส่วนโดยโมลเฟอร์เรตต่อไซยาไนด์เดียวกัน มีประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์ใกล้เคียงกัน ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองแรก โดยผลิตภัณฑ์หลักที่เกิดขึ้นจากการกำจัดเฮกซะไซยาโน โคบอลเตต คือไนไตรท์ และไนเตรทen
dc.description.abstractalternativeCyanide is a highly toxic substance that is found in the metal plating industrial wastewater. Oxidation technique is generally applied for cyanide treatment technologies. The objective of this research in order to the oxidation process of cobalt cyanide complex which in a potassium hexacyanocobaltate (K[subscript 3]Co(CN)[subscript 6]] by ferrate(VI) (Fe[superscript VI]O4[superscript 2-],Fe(VI)). and To study the effect of pH (9 10 and 11) and the increased mole fractions of ferrate per cyanide to performance in cyanide removal and all obtain products. The first experiment was concentration of 500µM ferrate, concentration of (500 250 100 50 25 20 12.5 and 10µM) cyanide. The result, shown the highest efficiency of cyanide removal at pH 10 and mole fractions of 50:1 ferrate per cyanide at 100%. The second experiment was reaction rate at pH 9 10 and 11 mole fraction of 5:1 ferrate per cyanide. The result, shown the fast rate at pH 10 The final experiment was concentration of 20µM cyanide, concentration of (20 40 100 200 400 and 500µM) ferrate. This result is consistent with the first results of experiment. Nitrite and Nitrate that occur from removed hexacyanocobaltate complex.en
dc.format.extent1675645 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.80-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดไซยาไนด์en
dc.subjectการชุบเคลือบผิวด้วยไฟฟ้าen
dc.subjectไซยาไนด์en
dc.subjectโลหะผสมโคบอลต์en
dc.subjectเฟอร์ไรต์en
dc.titleการกำจัดเฮกซะไซยาโนโคบอลเตตในน้ำเสียสังเคราะห์โดยวิธีการออกซิเดชันเฟอร์เรตen
dc.title.alternativeRemoval of hexacy anocobaltate in synthetic wastewater by ferrate oxidationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKhemarath.O@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.80-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wasinee_ki.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.