Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16575
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ เพ็งปรีชา | - |
dc.contributor.advisor | ณรงค์ ประไพรักษ์สิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | จิตตรี พละกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-01-25T11:44:20Z | - |
dc.date.available | 2012-01-25T11:44:20Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16575 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | ศึกษากระบวนผลิตถ่านกัมมันต์จากแกลบโดยวิธีการกระตุ้นทางเคมีด้วย NaOH, H₃PO₄ และ ZnCl₂ และประเมินความสามารถของถ่านกัมมันต์ในการใช้เป็นตัวดูดซับไอระเหยฟอร์มาลดีไฮด์ จากผลการทดลองพบว่า ถ่านกัมมันต์ที่ผลิตได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วยรูพรุนขนาดเล็กและรูพรุนขนาดกลาง โดยใช้อัตราส่วนโดยน้ำหนักของสารกระตุ้นต่อถ่านแกลบที่เหมาะสมเป็น 2:1 ถ่านแกลบที่ถูกกระตุ้นด้วย ZnCl₂ ที่อุณหภูมิ 700℃ มีค่าไอโอดีนนัมเบอร์มากที่สุดคือ 572.72 mg/g ซึ่งมีพื้นที่ผิวตามสมการ BET เท่ากับ 648.28 m²/g อย่างไรก็ตามถ่านแกลบที่ถูกกระตุ้นด้วย NaOH ที่อุณหภูมิ 700℃ เป็นตัวดูดซับที่ดีที่สุด สามารถดูดซับไอระเหยฟอร์มาลดีไฮด์ได้ถึง 394.25 ± 3.94 mg/g ซึ่งสามารถดูดซับไอระเหยฟอร์มาลดีไฮด์ได้ดีกว่าถ่านกัมมันต์ ที่มีจำหน่ายเชิงพาณิชย์คุณภาพดีที่ผลิตจากกะลามะพร้าวเล็กน้อย นอกจากนี้ยังพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรรูพรุนของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตได้กับปริมาณการดูดซับไอระเหยฟอร์มาลดีไฮด์ โดยใช้ Pearson]s correlation มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = .757) | en |
dc.description.abstractalternative | To study the production of activated carbon from rice husk by chemical activation process utilizing NaOH, H₃PO₄ and ZnCl₂ and to evaluate its performance as an absorbent for formaldehyde vapor. The results revealed that most of the activated carbon obtained are composed of microporous and mesoporous structures with the suitable weight ratio of activating agent to carbonized rice husk is 2:1. The carbonized rice husk activated with ZnCl₂ at 700℃ was found to have the highest iodine number of 572.72 mg/g with the BET surface area of 648.28 m²/g. However, the carbonized rice husk activated with NaOH at 700℃ is the best adsorbent for formaldehyde vapor with a capacity of 394.25 ± 3.94 mg/g, which is slightly superior to those obtained from a quality high commercial coconut shell activated carbon. It was also found the relationship of pore volumes of the activated carbon produced and amount of formaldehyde vapor by Pearson’s Correlation had statistical significance at 0.05 level. (r = .757). | en |
dc.format.extent | 4578359 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.372 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การดูดซับ | en |
dc.subject | คาร์บอนกัมมันต์ | en |
dc.subject | ฟอร์มัลดีไฮด์ | en |
dc.title | การดูดซับไอระเหยฟอร์มาลดีไฮด์บนถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากแกลบ | en |
dc.title.alternative | Adsorption of formaldehyde vapor on activated carbon derived from rice husk | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somchai.Pe@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | narong.pr@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.372 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jittree_Pa.pdf | 4.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.