Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16605
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พร้อมพรรณ อุดมสิน | - |
dc.contributor.author | ชูเกียรติ กะปิตถา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-01-29T13:48:02Z | - |
dc.date.available | 2012-01-29T13:48:02Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16605 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้สมการและอสมการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะ ในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้สมการและอสมการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนและหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้สมการและอสมการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอัสสัมชัญ (บางรัก) ปีการศึกษา 2540 ที่มีข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในการแก้สมการและอสมการ จำนวน 40 คน ผู้วิจัยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในการแก้สมการและอสมการในการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบวัดความสามารถในการแก้สมการและอสมการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต (X) ค่ามัชฌิมเลขคณิตร้อยละ (Xร้อยละ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และการทดสอบค่าที (t-test) การวิจัยปรากฏผลดังนี้ 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในการแก้สมการและอสมการหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะ ในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำสุดที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในการแก้สมการและอสมการหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อนการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในการแก้สมการและอสมการหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะครั้งที่สองสูงกว่าหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ครั้งที่หนึ่ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were : 1. To study the ability in solving equation and inequalities of mathayom suksa four students after using drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution. 2. To compare the ability in solving equation and inequalities of mathayom suksa four students between before and after using drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution. 3. To compare the ability in solving equation and inequalities of mathayom suksa four students between the first and second time using drill ad practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution. The samples were 40 mathayom suksa four students having mathematics basic knowledge deficiency in solving equation and inequalities of Assumption College in the academic year 1997. The researcher used the drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution in solving equation and inequalities for the experiment. The research instrument was a test on ability in solving equation and inequalities. The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and t-test. The results of this research revealed that : 1. Mathayom suksa four students had the ability in solving equation and inequalities after using drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution at the passed low criteria level. 2. Mathayom suksa four students had the ability in solving equation and inequalities after using drill and practice computer assisted instruction lessons higher than that before using drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution at the 0.05 level of significance. 3. Mathayom suksa four students had the ability in solving equation and inequalities after the second time of using drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution at the 0.05 level of significance. | en |
dc.format.extent | 807110 bytes | - |
dc.format.extent | 777649 bytes | - |
dc.format.extent | 986665 bytes | - |
dc.format.extent | 877399 bytes | - |
dc.format.extent | 731055 bytes | - |
dc.format.extent | 756921 bytes | - |
dc.format.extent | 1251505 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน | en |
dc.title | ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกทักษะ ในการแก้ไขข้อบกพร่องด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้สมการและอสมการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | en |
dc.title.alternative | The effects of using drill and practice computer assisted instruction lessons in mathematics basic knowledge deficiency dissolution on the ability in solving equations and inequalities of mathayom suksa four students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การศึกษาคณิตศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Prompan.U@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chookiat_Ka_front.pdf | 788.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chookiat_Ka_ch1.pdf | 759.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chookiat_Ka_ch2.pdf | 963.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chookiat_Ka_ch3.pdf | 856.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chookiat_Ka_ch4.pdf | 713.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chookiat_Ka_ch5.pdf | 739.18 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chookiat_Ka_back.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.