Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูล-
dc.contributor.advisorดิเรก ศรีสุโข-
dc.contributor.authorอารีย์ บัญญัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-02-02T04:06:02Z-
dc.date.available2012-02-02T04:06:02Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16620-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยง ความตรง และหาเกณฑ์ปกติของแบบวัดการปรับตัวกับเพื่อน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2540 ที่เรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,394 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบวัดประเภทกำหนดเป็นสถานการณ์รูปภาพ ประกอบด้วยข้อกระทง 20 ข้อ แต่ละข้อกระทงมี 3 ตัวเลือก ซึ่งแต่ละตัวเลือกบ่งชี้ถึงการปรับตัว 3 รูปแบบ คือ แบบก้าวร้าว แบบถอยหนี และแบบประนีประนอม ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์หาค่าความเเที่ยง ด้วยวิธีการสอบซ้ำ ความตรงตามสถาพ และเกณฑ์ปกติ โดยใช้โปรแกรม SPSS ผลการวิจัยพบว่า แบบวัดการปรับตัวกับเพื่อน มีค่าความเที่ยง ซึ่งหาด้วยวิธีการสอบซ้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์คอนติงเจนซี่เท่ากับ 0.58 และความตรงตามสภาพ หาจากสหสัมพันธ์ระหว่างผลการวัดการปรับตัวกับเพื่อน จากแบบวัดการปรับตัวกับเพื่อนทั้งฉบับ กับผลการตัดสินรูปแบบการปรับตัวของนักเรียนจากครูประจำชั้น มีค่าสัมประสิทธิ์คอนติงเจนซี่เท่ากับ 0.71en
dc.description.abstractalternativeTo develop and investigate reliability, validity and norm of the peer adjustment scale for prathom suksa one students. The sample used in research was 1,394 prathom suksa one students in the academic year 1997 in the primary schools under the jurisdiction of the Primary Education Office, Bangkok Metropolis. The developed scale was the situation-picture type, with 20 items. Each item consisted of three choices representing three styles of adjustment pattern: aggressive, withdrawal and compromise. The data obtained were analyzed by the SPSS program to determine reliability, validity and norm of the tests. Contingency coefficient was employed to determine test-retest reliability and concurrent validity of the scale. It was found test-retest reliability of the peer adjustment scale computed by contingency coefficient was 0.58. Using judgement of the teachers as the criterion, the concurrent validity of the scale was 0.71en
dc.format.extent775655 bytes-
dc.format.extent790286 bytes-
dc.format.extent1057163 bytes-
dc.format.extent875722 bytes-
dc.format.extent880779 bytes-
dc.format.extent761067 bytes-
dc.format.extent777392 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)en
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษาen
dc.titleการพัฒนาแบบวัดการปรับตัวกับเพื่อนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeA development of the peer adjustment scale for prathom suksa one studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAuyporn.R@chula.ac.th-
dc.email.advisorDerek.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aree_Ba_front.pdf757.48 kBAdobe PDFView/Open
Aree_Ba_ch1.pdf771.76 kBAdobe PDFView/Open
Aree_Ba_ch2.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Aree_Ba_ch3.pdf855.2 kBAdobe PDFView/Open
Aree_Ba_ch4.pdf860.14 kBAdobe PDFView/Open
Aree_Ba_ch5.pdf743.23 kBAdobe PDFView/Open
Aree_Ba_back.pdf759.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.