Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16699
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ปริยดา วันไทย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2012-02-05T04:07:47Z | - |
dc.date.available | 2012-02-05T04:07:47Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16699 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน ของนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร จำแนกตามลักษณะทางประชากร เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การเปิดรับสื่อ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน ของนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามีจำนวนทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีการเปิดรับสื่อมวลชน สื่อบุคคล และสื่อเฉพาะกิจในระดับปานกลาง มีความตระหนักในระดับสูงมาก และมีพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อนในระดับสูง 2. ลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ สถาบันการศึกษา และรายได้แตกต่างกัน มีการเปิดรับสื่อไม่แตกต่างกัน 3. ลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้แตกต่างกันมีความตระหนักแตกต่างกัน ส่วนเพศ อายุ สถาบันการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความตระหนักที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อนไม่แตกต่างกัน 4. ลักษณะทางประชากรของกลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ สถาบันการศึกษาและรายได้แตกต่างกัน มีพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อนไม่แตกต่างกัน 5. การเปิดรับสื่อมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความตระหนักที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน 6. การเปิดรับสื่อมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน 7. ความตระหนักที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน | en |
dc.description.abstractalternative | This survey research aimed at studying the media exposure, awareness and behavior related to global warming issues of university students in Bangkok. The subjects are categorized by gender, age, university of education and level of income. The relationships among media exposure, awareness and behavior related to global warming issues of university students in Bangkok. Questionnaires were used to collect the data from 400 samples. The data analysis included frequency, percentage, mean and Pearson’s product moment correlation coefficient by using SPSS for Windows program. 1. Results from this study reveal that the samples’ media exposure is average, their awareness is very high and their behavior related to global warming issues is high. 2. Samples with different gender, age, university of education and level of income do not influence their media exposure related to global warming issues. 3. Samples with different level of income have different level of awareness related to global warming issues. The gender, age and university of education do not influence their media awareness related to global warming issues. 4. Samples with different gender, age, university of education and level of income do not influence their behavior related to global warming issues. 5. The samples’ media exposure influences their awareness related to global warming issues. 6. The samples’ media exposure influences their behavior related to global warming issues. 7. The samples’ awareness related to global warming issues is not correlated with their behavior related to global warming issues. | en |
dc.format.extent | 1504974 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.380 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ภาวะโลกร้อน | en |
dc.subject | การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม | en |
dc.subject | การเปิดรับข่าวสาร | en |
dc.subject | การสื่อสาร | en |
dc.subject | ความตระหนัก | en |
dc.subject | นักศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en |
dc.title | การเปิดรับสื่อ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นภาวะโลกร้อน ของนิสิต นักศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Media exposure, awareness and behavior related to global warming issues of university students in Bangkok | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตรพัฒนาการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suwattana.V@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.380 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
priyada_wa.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.