Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัศมน กัลยาศิริ-
dc.contributor.authorวรัญญา จิตรผ่อง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-05T09:56:58Z-
dc.date.available2012-02-05T09:56:58Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16719-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาถึงความรุนแรงของการเสพสารเมทแอมเฟตามีนหรือยาบ้าซ้ำ รวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระดับความรุนแรงของการเสพสารเมทแอมเฟตามีนซ้ำ โดยศึกษาจากผู้เข้ารับการบำบัดการเสพสารเสพติดแบบผู้ป่วยใน ณ สถาบันธัญญารักษ์ จำนวน 250 คน โดยมีแบบสอบถามทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบประเมินความรุนแรงในการติดสารเสพติด (Severity of dependence scale หรือ SDS) ฉบับภาษาไทย 3) แบบสัมภาษณ์เพื่อการวินิจฉัยโรคทางจิตเวช Mini international neuropsychiatric interview - lifetime (M.I.N.I - lifetime) ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเสพซ้ำกับข้อมูลส่วนบุคคล การวินิจฉัยทางจิตเวชและสารเสพติด ประวัติการบำบัดรักษาการเสพเมทแอมเฟตามีน และตัวแปรด้านครอบครัวและสังคม โดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์ logistic regression ด้วยวิธี backward likelihood ratio ผลการศึกษาพบว่า ระดับความรุนแรงในการเสพสารเมทแอมเฟตามีนซ้ำจากแบบสอบถาม SDS ของผู้เข้ารับการบำบัดสารเสพติดส่วนใหญ่อยู่ในระดับที่รุนแรง จำนวน 153 คน คิดเป็น 61.2% จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 250 คน การวิเคราะห์เบื้องต้นพบปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับความรุนแรงในการเสพซ้ำ ได้แก่ สถานภาพสมรส ศาสนา ภาวะแมนิค (manic episode) บุคลิกภาพแบบอันธพาล (antisocial personality disorder) วิธีการที่ใช้หยุดยาได้ครั้งหลังสุด ปัญหาด้านอารมณ์หรือจิตใจก่อนเข้ารับการรักษา บุคคลที่ใช้เวลาอยู่ด้วยเป็นส่วนใหญ่ การมีปัญหาครอบครัว และความสัมพันธ์กับบิดา การเคยติดสารเสพติดประเภท แอลกอฮอล์ กัญชา และสารเสพติดอื่นๆ รวมถึงการใช้สารเสพติดดังกล่าวในทางที่ผิด สำหรับรูปแบบในการเข้ารับการบำบัดของผู้ป่วยพบว่า ผู้ที่เข้ารับการรักษาด้วยระบบบังคับบำบัดในครั้งปัจจุบัน กลับมีระดับความรุนแรงในการกลับมาเสพซ้ำในระดับที่ไม่รุนแรง เมื่อเทียบกับผู้เข้ารับการรักษาโดยสมัครใจ โดยพบว่าวิธีการที่ใช้หยุดยาได้ครั้งหลังสุดของผู้ที่มีความรุนแรงในการเสพซ้ำคือการเข้าบำบัดที่ โรงพยาบาล เมื่อนำปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงในการใช้สารเมทแอมเฟตามีนซ้ำ มาควบคุมอิทธิพลจากตัวแปรอื่นๆ ด้วยวิธี backward likelihood ratio พบว่า ปัจจัยเรื่องของสถานภาพสมรส หม้าย หย่า แยกกันอยู่ สถานภาพสมรสโสด ปัจจัยในเรื่องของการเข้ารักษาโดยสมัครใจ (ครั้งปัจจุบัน) และการเคยติดสารเสพติดอื่นๆ มาก่อนมีโอกาสเสี่ยงมากกว่าที่จะมีการใช้สารเสพติดซ้ำในระดับที่รุนแรงen
dc.description.abstractalternativeData from 250 individuals hospitalized for methamphetamine (MA) use treatment at Thanyarak Institute for drug abuse was collected by using 4 sets of questionnaires including 1) General background questionnaire 2) Severity of dependence scale (SDS) Thai version 3) Mini international neuropsychiatric interview - lifetime (M.I.N.I - lifetime) Thai version. Demographic, diagnosis, MA dependence treatment, and family and social variables were assessed for association with severity of MA relapse by using chi-squares statistics and Fisher’s exact test and logistic regression, backward likelihood ratio. Of 250 individuals, 153 (61.2%) were severely dependent on MA at relapse by SDS criteria. The factors associated severe MA relapse by initial analysis are marital status, religion, manic episode, antisocial personality disorder, having psychological problems before hospitalization, persons that one spent most of the time with, family problems, relationship with father, alcohol dependence, marijuana dependence and other substance dependence. However, MA users being forced legally for current rehabilitation had less severity of current MA dependence than those with voluntary admission. Individuals with severe MA dependence relapse were more likely to use hospitalization as method to successfully quit MA before current relapse. Being widow/divorced/separated, never married, receiving current MA treatment voluntarily, having other substance dependence are associated with severe MA relapse when analyzed by using backward logistic regression analysis.en
dc.format.extent1135569 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.377-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการติดยาเสพติดen
dc.subjectเมทแอมฟิตะมินen
dc.subjectคนติดยาเสพติด -- การรักษาen
dc.subjectคนติดยาเสพติด -- การฟื้นฟูสมรรถภาพen
dc.titleความรุนแรงของการติดสารเมทแอมเฟตามีนซ้ำของผู้ป่วยใน ณ สถาบันธัญญารักษ์ ที่เคยได้รับการบำบัดการติดสารเสพติดen
dc.title.alternativeSeverity of relapse to methamphetamine dependence in patients with history of substance-dependency treatment at the inpatient department, Thanyarak Institute on drug abuseen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRasmon.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.377-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
waranya_ji.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.