Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนีญา อุทัยสุข-
dc.contributor.authorณัฐพร ผกาหลง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-11T13:33:53Z-
dc.date.available2012-02-11T13:33:53Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16810-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา และพัฒนาชุดการสอนโซลเฟจประกอบหลักสูตรไวโอลิน ตามแนวของยามาฮ่าสำหรับนักเรียนโรงเรียนดนตรีสยามกลการระดับชั้นต้น 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทักษะการเล่นไวโอลินจากการใช้ชุดการสอนโซลเฟจประกอบหลักสูตรไวโอลินตามแนวของยามาฮ่าสำหรับนักเรียนโรงเรียนดนตรีสยามกลการระดับชั้นต้น วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการสืบค้นเอกสาร และเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนหลักสูตรไวโอลินของยามาฮ่าระดับชั้นต้น ช่วงอายุ 10-15 ปี โดยคัดเลือกจาก 5 โรงเรียน โรงเรียนละ 4 คน รวมทั้งหมด 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทักษะการเล่นไวโอลิน และแบบสังเกตระหว่างเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหา ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และสถิติเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบชุดการสอนโซลเฟจประกอบหลักสูตรไวโอลินตามแนวของ ยามาฮ่า ประกอบไปด้วย บทเพลงโซลเฟจจำนวน 6 เพลง แผนการสอนจำนวน 8 แผน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทักษะการเล่นไวโอลินก่อน และหลัง และแบบสังเกตระหว่างเรียน 2) หลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของทักษะการเล่นไวโอลินใน 4 ด้าน สูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของทักษะการเล่นไวโอลินใน 4 ด้าน หลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to improve the Solfege method for violin under the Yamaha method for Siamkolkarn Beginning Music Students 2) to study the learning outcomes in violin technical skills; pitch, rhythm, articulation, and dynamics production. The research employed documentary inquiry and quasi-experimental research method. The survey samples in this experiment were the Yamaha Beginning Violin students ages 10-15, who were selected from 5 schools (4 students from each school) total of 20 students. The tools used for this experiment included violin playing evaluation forms and observation during the lesson forms. The descriptive statistical methods used in this study were mean, standard deviation, and t-test. The results were 1) Solfege instructional packages for a violin course based on Yamaha approach for Siamkolkarn music school beginner students This packages include 6 Solfege repertoires and 8 teaching plans. Moreover, it also includes musical achievement tests to used before and after the instruction, and observation form to used during the instruction. 2) After 8 weeks, both experimental and controlled group gained average scores significantly higher in all 4 aspects of violin technical skills 3) The average scores of the experimental group were significantly higher than the one of controlled group at 0.5 level in all 4 aspects of violin technical skillsen
dc.format.extent1969485 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.717-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไวโอลินen
dc.subjectดนตรีสากลen
dc.subjectดนตรี -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการพัฒนาชุดการสอนโซลเฟจประกอบหลักสูตรไวโอลินตามแนวของยามาฮ่าสำหรับนักเรียนโรงเรียนดนตรีสยามกลการระดับชั้นต้นen
dc.title.alternativeThe development of solfege instructional packages for a violin based on Yamaha approach for Siamkolkarn music school beginner studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineดนตรีศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisornoonnin@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.717-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattaporn_pa.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.